เมนู

กลุ่มบริหารเขื่อน น้ำผิวดิน น้ำใต้ดิน

Dam, Surface Water And Groundwater Management Group

กลุ่มบริหารเขื่อน น้ำผิวดิน น้ำใต้ดิน

ในปัจจุบัน การพัฒนาของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เกิดขึ้นนานาประเทศในระดับสากลได้มีการนำระบบและองค์ความรู้ที่ได้จากนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่นี้มาใช้ในการบริหารจัดการน้ำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอย่างแพร่หลาย (สุภัทรา 2561) อาทิ การนำข้อมูลดาวเทียมเทคนิคสารสนเทศและข้อมูล การเก็บข้อมูลด้วยเซนเซอร์และการส่งข้อมูลด้วยระบบไร้สาย การส่งข้อมูลเตือนภัยในระดับบุคคล ที่เชื่อมโยงกับการบริหารจัดการเขื่อน การจัดการภัยพิบัติ การจัดการในพื้นที่ชลประทานการพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อการจัดการ (น้ำ เกษตร ปัจจัยการผลิต ตลาด เครดิต ฯลฯ)จึงควรทำการศึกษาวิจัยพัฒนาโดยนำแนวคิด แนวทาง และเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาช่วยยกระดับการบริหารจัดการน้ำของประเทศและช่วยตอบโจทย์เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ได้

At present, the development of innovations and modern technologies occurring in many countries at the international level have brought systems and knowledge derived from this innovation and modern technology to use in water management to increase efficiency widely (Supat Ra 2018), such as the use of satellite data, information techniques and information Sensor data acquisition and wireless data transmission Sending alarm information at the personal level linked to the management of the dam disaster management Management in irrigated areas, development of management platforms (water, agriculture, production factors, markets, credit, etc.) should be conducted with research and development by applying new concepts, guidelines and modern technologies to help raise the level of water management in the country and help meet the goals strategic.

รายชื่อนักวิจัย

1. งานบริหารเขื่อน (Dam Management)

ดร. กนกศรี ศรินนภากร

Researcher, Acting Head of Climate and Weather Section, Acting Head of Hydro Data Science Section

ผศ.ดร.สุกรี สินธุภิญโญ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ผศ.ดร.อารียา ฤทธิมา

ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

2. งานน้ำผิวดินและใต้ดิน (Surface and Underground Water)

ดร.ชูพันธุ์ ชมภูจันทร์

ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

ดร.สนิท วงษา

ภาควิชาครุศาสตร์โยธา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ผศ.ดร.ไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์

ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

รศ.ดร.ทวนทัน กิจไพศาลสกุล

ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. งานวางแผน (Water Management Planning)

ผศ.ดร.ชัยวัฒน์ เอกวัฒน์พานิชย์

Civil Engineering Department Faculty of Engineering King Mongkut’s University of Thonburi, THAILAND

รศ.ดร.ไพศาล สันติธรรมนนท์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชา วิศวกรรมสำรวจ

ดร.พงษ์ศักดิ์ สุทธินนท์

ผู้อำนวยการหน่วยบริหารจัดการและส่งมอบผลลัพธ์ (ODU) คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

รศ.ดร.วิษณุ อรรถวานิช

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน

คุณอาทิตยพงษ์ สุชินโรจน์

บริษัท คลิกเกอร์แล็บ จำกัด

รายงานวิจัย (Research Report)

รายชื่อโครงการวิจัย หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ และรายงานฉบับสมบูรณ์ ทั้งสามระยะ

งานบริหารเขื่อน

(Dam Management)

งานน้ำผิวดินและใต้ดิน

(Surface and Underground Water)

งานวางแผน

(Water Management Planning)

In Print

(book, papers) ที่เกิดจากแผนงาน

Activities

(รวมภาพ ข่าวสาร กิจกรรม ปชป ที่ทำกันมา) ที่มีแล้ว และทำเพิ่มในระยะที่ 3