เมนู

รศ.ดร.พยุง มีสัจ

รศ.ดร.พยุง มีสัจ

ศูนย์วิจัยวิศวกรรมน้ำและโครงสร้างพื้นฐาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ประวัตินักวิจัย

ชื่อ-สกุล (ภาษาไทย):

รศ.ดร.พยุง มีสัจ

ชื่อ-สกุล (ภาษาอังกฤษ):

PHAYUNG MEESAD

ตำแหน่ง (ทางวิชาการ/ราชการ):

รองศาสตราจารย์

สังกัด/หน่วยงาน:

ศูนย์วิจัยวิศวกรรมน้ำและโครงสร้างพื้นฐาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ที่อยู่:

1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กทม. 10800

โทรศัพท์:

02 555 2000 ต่อ 3258

โทรสาร:

02 587 4167                 

โทรศัพท์มือถือ:

089 161 8466

E-mail:

pmeesad@gmail.com

ประวัติการศึกษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน)

2545     Doctor of Philosophy (Ph.D.)  Electrical Engineering Oklahoma State University ประเทศสหรัฐอเมริกา

2541     Master of Science (MS) Electrical Engineering  Oklahoma State University ประเทศสหรัฐอเมริกา

2537     ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (ค.อ.บ.) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ภาระงานในปัจจุบัน (งานประจำที่รับผิดชอบ)

อาจารย์ประจำ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ผลงานที่ผ่านมา

  • งานวิจัย (ผลงานวิจัยหรือพัฒนาที่ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในประเทศหรือเสนอในที่ประชุมที่มีคณะกรรมการวิชาการพิจารณา)
  • พรรณทิพา  นิกาญจน์กูล และพยุง  มีสัจ. (๒๕๔๘). “ระบบสารสนเทศเพื่อช่วยในการจัดการซ่อมบำรุงเครื่องจักร สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม,” วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มกราคม-มิถุนายน. หน้า ๔๔-๕๐.
  • ชยาภรณ์ บัลลังก์รัตน์ และพยุง มีสัจ. (๒๕๔๘). “การพัฒนาระบบศูนย์การค้าอิเล็กทรอนิกส์บนพื้นฐานความต้องการของผู้ใช้เป็นหลัก.” วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มกราคม-มิถุนายน. หน้า ๕๗-๖๔. 
  • สิริลักษณ์ จุณณทัศน์ และ พยุง มีสัจ. (๒๕๔๘). “การจัดตารางสอนโรงเรียนด้วยขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมแบบหลายจุดประสงค์,” งานประชุมวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ ๑ (NCCIT 2005), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กรุงเทพฯ, ๒๔-๒๕ พฤษภาคม. หน้า    ๑-๖.
  • ณัฏฐา ห่อประทุม และ พยุง มีสัจ. (๒๕๔๘). “การจัดกลุ่มแบบฟัซซีเบเซียน,” งานประชุมวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ ๑ (NCCIT 2005), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กรุงเทพฯ, ๒๔ – ๒๕ พฤษภาคม. หน้า ๒๗๕-๒๘๐.
  • รพีภรณ์ สามเตี้ย และ พยุง มีสัจ. (๒๕๔๘). “ระบบสารสนเทศสำหรับประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้ข้อมูลจากการแปลงแฟ้มข้อมูลจากเครื่องอ่านเครื่องหมายด้วยแสงและข้อมูลป้อนตรงจากผู้สอน,” งานประชุมวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ ๑ (NCCIT 2005), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กรุงเทพฯ, ๒๔-๒๕ พฤษภาคม. หน้า ๗ – ๑๒. 
  • Sunantha Sodsee and Phayung Meesad. (2005). “A Multi-Objective Bisexual Reproduction Genetic Algorithm for Computer Network Design” งานประชุมวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ ๑ (NCCIT 2005), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กรุงเทพฯ, ๒๔-๒๕ พฤษภาคม. หน้า ๑๒๗-๑๓๒.
  • Sopawan Chuakaew and Phayung Meesad. (2005). “Dye Scheduling Using a Genetic Algorithm” งานประชุมวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ ๑ (NCCIT 2005), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กรุงเทพฯ, ๒๔-๒๕ พฤษภาคม. หน้า ๑๓๓-๑๓๘.
  • Phayung Meesad. (2004). “A One Pass Learning Algorithm for Generating Fuzzy Rules from Data,” in the Proceeding of of the 8th National Computer Science and Engineering Conference (NCSEC04), Had Yai, Songkha, Oct 21-23.
  • Saowalak Arampongsanuwat and Phayung Meesad. (2012). “PM10 Prediction Model by Support Vector Regression Based on Particle Swarm Optimization,” Advanced Materials Research, Vols. 403-408, pp. 3693-3698.
  • Saowalak Arampongsanuwat and Phayung Meesad. (2011). “Prediction of PM10 using Support Vector Regression,” Proceedings of 2011 International Conference on Information and Electronics Engineering (ICIEE 2011), Bangkok, Thailand, May 28-29. pp. 120-124.
  • เสาวลักษณ์ อร่ามพงศานุวัต และ พยุง  มีสัจ. (๒๕๕๔). “การพัฒนาแบบจำลองเพื่อพยากรณ์ปริมาณ PM10 โดยใช้ซัพพอร์ตเวกเตอร์รีเกรสชัน และโครงข่ายประสาทเทียม” งานประชุมวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ ๗ (NCCIT2011). หน้า ๕๑๕-๕๒๐.   
  • เสาวลักษณ์ อร่ามพงศานุวัต และ พยุง  มีสัจ. (๒๕๕๓). “การพยากรณ์ปริมาณ PM10 ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมเรเดียลเบซิสฟังก์ชัน และวิธีบ็อกซ์และเจนกินส์,” Proceedings of the 3rd Rajamangala University of Technology National Conference (3rd RMUTCON), กรุงเทพมหานคร, ๒๕-๒๖ พฤศจิกายน.  หน้า ๒๒๙-๒๓๕. 
  • Phayung Meesad and Tong Srikhacha. (2008). “Stock price time series prediction using Neuro-Fuzzy with support vector guideline system,” Proc. 9th ACIS Int. Conf. Software Engineering, Artificial Intelligence, Networking and Parallel/Distributed Computing, SNPD 2008 and 2nd Int. Workshop on Advanced Internet Technology and Applications, Phuket, 6-8 August. pp. 422-427
  • Phayung Meesad and Tong Srikhacha. (2007). “Data Prediction by Support Vector Regression with a Decomposition Method,” ECTI-CON07, Chiang Rai Thailand. pp. 1205-1208.  
  • Phayung Meesad and Tong Srikhacha. (2006). “Universal data forecasting with an adaptive approach and seasonal technique,” CIMCA 2006: International Conference on Computational Intelligence for Modelling, Control and Automation, Jointly with IAWTIC 2006: International Conference on Intelligent Agents Web Technologies. Sydney, NSW, 28 November – 1 December.
  • Dech Thammasiri and Phayung Meesad. (2012). “Ensemble data classification based on diversity of classifiers optimized by genetic algorithm,” Advanced Materials Research, Vols. 433-440, pp. 6572-6578.
  • เดช ธรรมศิริ และพยุง มีสัจ. (๒๕๕๔). “การจำแนกข้อมูลแบบร่วมกันตัดสินใจจากพื้นฐานของเทคนิคต้นไม้ตัดสินใจ เทคนิคโครงข่ายประสาทเทียม และเทคนิคซัพพอร์ตเว็กเตอร์แมชชีน,”วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๒ พ.ค.-ส.ค. หน้า ๑๘๗-๑๙๗.
  • Phayung Meesad and Kairung Hengpraprohm. (2008). “Combination of KNN-based feature selection and KNN-based missing-value imputation of microarray data,” 3rd International Conference on Innovative Computing Information and Control, ICICIC’08.
  • ไก้รุ่ง เฮงพระพรหม และพยุง มีสัจ. (๒๕๕๐). “การเลือกคุณลักษณะด้วยวิธีสมาชิกที่ใกล้ที่สุดสำหรับการแทนที่ค่าข้อมูลที่ขาดหายด้วยวิธีที่ใกล้ที่สุด,” วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ, ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๗ มกราคม-มิถุนายน. หน้า ๕๕-๖๑.
  • Paranya Ammaruekarat and Phayung Meesad. (2012). “Multi-objective Chaos Memetic Algorithm for DTLZ Problems,” Advanced Materials Research, Vols. 433-440, pp. 3676-3681.