เมนู

ผศ.ดร.ไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์

ผศ.ดร.ไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์

ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

ประวัตินักวิจัย

ชื่อ – นามสกุล (ภาษาไทย)

นายไชยาพงษ์  เทพประสิทธิ์

ชื่อ – นามสกุล (ภาษาอังกฤษ)

Mr.Chaiyapong  Thepprasit

ตำแหน่งปัจจุบัน 

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก

ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
เลขที่ 1 ม. 6 ต.กำแพงแสน อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม 73140

โทรศัพท์

034-351897 ต่อ 7209

มือถือ

086-722-8750

E-mail

fengcpth@ku.ac.th

ประวัติการศึกษา

ปี พ.ศ. 2540     ปริญญาตรี วศ.บ. (ทรัพยากรน้ำ)   ม.เกษตรศาสตร์

ปี พ.ศ. 2546     ปริญญาโท วศ.ม. (ทรัพยากรน้ำ)   ม.เกษตรศาสตร์

ปี พ.ศ. 2555     ปริญญาเอก วศ.ด. (ทรัพยากรน้ำ)  ม.เกษตรศาสตร์

สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ

อุทกวิทยา  การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลัน  การพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ

  1. หัวหน้าโครงการวิจัย การบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำเพื่อป้องกันอุทกภัย ภายใต้แผนงานวิจัย การวิเคราะห์ทรัพยากรน้ำและอุทกภัยในลุ่มน้ำเพชรบุรีภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) ปี พ.ศ. 2562
  2. หัวหน้าโครงการวิจัย การศึกษาปริมาณน้ำหลากสูงสุดที่อาจเป็นไปได้ และแนวทางที่เหมาะสมในการระบายน้ำผ่านอาคารระบายน้ำล้นของเขื่อน กฟผ. ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
  3. หัวหน้าโครงการวิจัย การวิเคราะห์แนวโน้มปริมาณน้ำหลากสูงสุดของลุ่มน้ำหลักในประเทศไทย ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2559
  4. หัวหน้าโครงการวิจัย การบริหารจัดการน้ำเพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำในลุ่มน้ำลำภาชี ของสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ. 2558
  5. หัวหน้าโครงการวิจัย การพัฒนาระบบการตัดสินใจเชิงพื้นที่เพื่อวางแผนปรับปรุงคลองส่งน้ำชลประทาน ของศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ. 2558
  6. หัวหน้าโครงการวิจัย โครงการวิจัยการประเมินปริมาณน้ำท่าที่ไหลเข้าอ่างเก็บน้ำแควน้อยบำรุงแดน โดยแบบจำลอง API ทุนอุดหนุนวิจัยคณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มก. ระหว่างปี พ.ศ. 2556-2557
  7. นักวิจัย โครงการวิจัยเรื่อง การประเมินภาวะน้ำท่วมในเขตชุมชนอำเภอเมืองอุดรธานีภายใต้สภาพแวดล้อมที่กำลังเปลี่ยนแปลง ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประจำปีงบประมาณ 2557
  8. นักวิจัย โครงการวิจัยเรื่อง การบูรณาการกระบวนการมีส่วนร่วมในการวางแผนเพื่อความมั่นคงด้านน้าจังหวัดนครปฐม ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประจำปีงบประมาณ 2556
  9. นักวิจัย โครงการวิจัยเรื่อง การพยากรณ์ปริมาณน้ำท่าของลุ่มน้ำเพื่อการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและการเตือนภัยจากน้ำท่วมฉับพลัน ภายใต้แผนงานวิจัยการศึกษาพฤติกรรมการเกิดน้ำท่วม-ดินถล่ม ในพื้นที่ต้นแบบเพื่อสร้างแบบจำลองสำหรับกำหนดเกณฑ์และวิธีการในการเตือนภัย (ระยะที่ 2) ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2553
  10. นักวิจัย โครงการวิจัยเรื่อง การขยายระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยจากน้ำท่วมฉับพลัน ภายใต้แผนงานวิจัยการขยายเครือข่ายการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อเตือนภัยจากสภาวะฝนมากเกินปกติบริเวณลุ่มน้ำน่านตอนบน ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2552
  11. นักวิจัย โครงการวิจัยเรื่อง ระบบการเฝ้าระวังและการเตือนภัยจากน้ำท่วมฉับพลัน ภายใต้แผนงานวิจัยระบบเตือนภัยและการมีส่วนร่วมของชุมชนเครือข่ายลุ่มน้ำน่านตอนบน เพื่อการป้องกันอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2550

งานวิจัยที่ทำเสร็จแล้ว

  1. ไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์, พงศธร โสภาพันธุ์, และนิมิตร เฉิดฉันท์พิพัฒน์, 2561, การวิเคราะห์แนวโน้มปริมาณน้ำหลากสูงสุดของลุ่มน้ำหลักในประเทศไทย, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – เมษายน
  2. นันทณัฐ เยื่อบางไทร, ไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์ และวราวุธ วุฒิวณิชย์, การหาค่าน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์การประเมินสภาพการวิบัติของฝายโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 15, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, 6-7 ธันวาคม 2561, นครปฐม
  3. ภัคพล เอื้อธีรศรัณย์, กฤตวัฒน์ สุโกสิ, ไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์ และณัฐ มาแจ้ง, การวิเคราะห์ปริมาณฝนสูงสุดที่อาจเป็นไปได้และปริมาณน้ำหลากสูงสุดที่อาจเป็นไปได้สำหรับเขื่อนสิริกิติ์, เอกสารประกอบการประชุมวิชาด้านชลประทานและการระบายน้ำแห่งชาติ ครั้งที่ 11, 20 มิถุนายน 2561, นนทบุรี
  4. กิตติพงษ์ ตุมกูล, เกศวรา สิทธิโชค และไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์, 2560, การเปรียบเทียบเทคนิคการปรับเทียบแบบจำลอง SWAT สำหรับประเมินนํ้าท่าลงอ่างเก็บนํ้าเขื่อนแควน้อยบำรุงแดน จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 : 41 – 58
  5. อรรณพ ขันติธรรมพัฒนา, ธเนศร์ สมบูรณ์ และ ไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์, การประเมินโครงการสูบน้ำทุ่งวัดสิงห์โดยใช้วิธีการประเมินแบบเร่งด่วน, การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 14, 7 – 8 ธันวาคม 2017, นครปฐม
  6. สิทธา ยอดเจริญ, ยุทธนา พันธุ์กมลศิลป์, ไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์, เอกสิทธิ์ โฆสิตสกุลชัย, การจำแนกสิ่งปกคลุมดินจากภาพถ่ายดาวเทียมในพื้นที่ลุ่มน้ำลำภาชีด้วยวิธี Decision Tree, การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย, 7 – 9 กันยายน 2017, กรุงเทพมหานคร
  7. ปนัดดา กสิกิจวิวัฒน์, ไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์ และสนทยา สุตราม, 2559, ระบบการตัดสินใจเชิงพื้นที่เพื่อวางแผนปรับปรุงคลองส่งน้ำชลประทาน กรณีศึกษาคลองสายใหญ่และ คลองซอย โครงการวังบัว, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 21 โรงแรม บีพี สมิหลา บีช สงขลา จ.สงขลา
  8. ไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์, ชัยวัฒน์ เต็งประกอบกิจ และเนตรชนก ภู่ระหงษ์, 2559, การวิเคราะห์ปริมาณน้ำหลากต่อพื้นที่รับน้ำฝนเพื่อการออกแบบโครงการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กของประเทศไทย. วิศวสารลาดกระบัง ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 : 60 – 65
  9. Temeepattanapongsa, S. and Thepprasit, C. 2015. Comparison and Recalibration of Equations for Estimating Reference Crop Evapotranspiration in Thailand. Kasetsart J. (Nat. Sci.) 49 :772 -784
  10. ณัฐภรณ์ รัตนะวัน, ไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์ และเอกสิทธิ์ โฆสิตสกุลชัย, 2558, การศึกษาปริมาณฝนสูงสุดที่อาจเป็นได้ในเขตชุมชน อำเภอเมืองอุดรธานีและพื้นที่ข้างเคียง, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมแหล่งน้ำแห่งชาติ ครั้งที่ 6 โรงแรมเซ็นทารา จ.อุดรธานี
  11. ไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์, 2558, การประเมินปริมาณน้ำท่าที่ไหลเข้าอ่างเก็บน้ำแควน้อยบำรุงแดนโดยใช้ดัชนีความชุ่มชื้นในดิน, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมแหล่งน้ำแห่งชาติ ครั้งที่ 6 โรงแรมเซ็นทารา จ.อุดรธานี
  12. ไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์, กรวิทย์ กิจพาณิชย์เจริญ และ กิตติศักดิ์ บุญมี, 2558, การวิเคราะห์แนวโน้มของปริมาณฝนสูงสุดสำหรับกรุงเทพมหานคร, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 20 โรงแรมเดอะซายน์ พัทยา จ.ชลบุรี
  13. ไชยาพงษ์  เทพประสิทธิ์ และณัฐ มาแจ้ง, 2557, การบริหารจัดการพื้นที่ราบน้ำท่วมถึง กรณีศึกษาพื้นที่ปากกุดหวาย อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น ราชาออคิด จ.ขอนแก่น
  14. ไชยาพงษ์  เทพประสิทธิ์ และกอบเกียรติ  ผ่องพุฒิ, 2556, การประเมินปริมาณน้ำที่ไหลเข้าอ่างเก็บน้ำ โดยใช้แบบจำลอง API Rainfall-Runoff, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 โรงแรมดิเอ็มเพลส จ.เชียงใหม่
  15. กอบเกียรติ  ผ่องพุฒิ และไชยาพงษ์  เทพประสิทธิ์, 2555, การพยากรณ์ปริมาณน้ำท่าของลุ่มน้ำเพื่อการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและการเตือนภัยจากน้ำท่วมฉับพลัน, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 โรงแรมเซ็นทารา จ.อุดรธานี
  16. C. Thepprasit, K. Pongput, and T. Supriyasilp, 2009. Reference Evapotranspiration Trend Analysis in the Upper Chao Phraya River Basin. Thai Journal of Agricultural Science. 42(4) :201-211.
  17. ไชยาพงษ์  เทพประสิทธิ์, วีระพล  แต้สมบัติ, 2547, แฟคเตอร์ลดปริมาณน้ำฝนตามขนาดพื้นที่สำหรับลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบน, เอกสารประกอบ การสัมมนา โยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 9 โรงแรมรีเจ้นท์ ชะอำ จ.เพชรบุรี
  18. Thepprasit, C. and Taesombat, V. 2003. Areal Rainfall Reduction Factor and Areal Flood Peak Reduction Factor for Upper Chao Phraya River Basin. Kasetsart J. (Nat. Sci.) 37 :224 -233

งานวิจัยที่กำลังทำ

  1. หัวหน้าโครงการวิจัย การบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำเพื่อป้องกันอุทกภัย ภายใต้แผนงานวิจัย การวิเคราะห์ทรัพยากรน้ำและอุทกภัยในลุ่มน้ำเพชรบุรีภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) ปี พ.ศ. 2562