ประวัตินักวิจัย
ชื่อ-สกุล (ภาษาไทย)
นายชิษนุวัฒน์ มณีศรีขำ
ตำแหน่งปัจจุบัน (ในชุมชน/ทางวิชาการ/ราชการที่ทำงาน):
ผู้ประสานงาน
สถานที่ติดต่อ (ที่อยู่ที่ทำงาน):
ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสงคราม
29 หมู่ที่ 7 ตำบลปลายโพงพาง อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม 75110
โทรศัพท์:
034-732388
โทรสาร:
034-753958
โทรศัพท์มือถือ:
081-8372993
E-mail:
tanate091@hotmail.com, maeklong13@gmail.com
สถานที่ติดต่อ (ที่บ้าน):
29 หมู่ที่ 7 ตำบลปลายโพงพาง อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม 75110
ประวัติการศึกษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน)
- ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาชาพัฒนาการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
- ปริญญาโท วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา การจัดการเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาระงานในปัจจุบัน (งานประจำที่รับผิดชอบ)
- ผู้ประสานงาน ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสงคราม
- ลงพื้นที่พัฒนา ติดตามหนุนเสริมงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นที่ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสงครามดูแล (ช่วงต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ)
- บริหารจัดการระบบการสนับสนุนทุนวิจัย ภายใตการสนับสนุนของฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
- วิทยากรฝึกอบรมหลักสูตรวิทยากรกระบวนการในงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นของศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสงคราม / การสรุปบทเรียนการดำเนินโครงการให้กับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาต่างๆ
งานวิจัยที่รับผิดชอบ
(กำลังดำเนินงาน) (ชื่อโครงการ แหล่งทุน และระยะเวลาดำเนินการ)
- โครงการศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสงคราม ปี 2561 (1 ตุลาคม 2560 – 30 กันยายน 2561)
- โครงการแนวทางการใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่นเป็นฐานในการฟื้นฟูชีวิตคนและสิ่งแวดล้อมรอบเขายายดาอำเภอเมือง จังหวัดระยอง ระยะที่ 4 (1 ตุลาคม 2560 – 30 กันยายน 2561)
- โครงการศูนย์วิจัยนวัตกรรมชุมชนภาคตะวันตกและการขยายผลการขับเคลื่อนงานวิจัยผ่านธุรกิจเพื่อสังคม (1 กันยายน 2560 – 31 สิงหาคม 2561)
- โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอนามัยชุมชนในการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพระดับภาคกลาง (1 มิถุนายน 2560 – 31 พฤษภาคม 2563)
***โครงการที่ 1 – 3 รับงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น ส่วนโครงการที่ 4 รับงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)***
ผลงานที่ผ่านมา (ถ้ามี)
ก. ผลงานวิจัย (ชื่อผลงาน ปีที่รับทุน แหล่งทุน ตำแหน่งในงานวิจัย)
ผลงาน | ปีที่รับทุน | แหล่งทุน | ตำแหน่งในงานวิจัย |
โครงการศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสงคราม ปี 2546- 2560 4.1.1 ติดตามหนุนเสริมจนได้รับโครงการวิจัยเด่นจากงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นของนักวิจัยชาวบ้านจำนวน 5 โครงการ | ปี 2546 – 2560 | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น | ทีมวิจัย / ผู้ประสานงานวิจัย |
โครงการพลังเด็กและเยาวชนเพื่อการเรียนรู้ภูมิสังคมภาคตะวันตก ปี 1 – 3 (จังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม) 4.1.2 เกิดเครือข่ายเด็กและเยาวชนปี 1 – 3 ที่มีจิตสำนึกพลเมือง 345 คน ผ่านการดำเนินโครงการจำนวน 66 โครงการ 4.1.3 เกิดเครือข่ายพี่เลี้ยงปี 1 – 3 ที่มาช่วยหนุนเสริมให้เด็กและเยาวชนที่มีจิตสำนึกพลเมือง 48 คน (ครู อาจารย์ นักพัฒนา เจ้าหน้าที่ อปท. แกนนำชุมชน) 4.1.4 เกิดกลไกการขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนของภาคีเครือข่ายในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดใกล้เคียง ใน 4 ระดับ คือ ทีมเด็กและเยาวชน ทีมพี่เลี้ยง ทีม coaching และกลไกในระดับจังหวัดสมุทรสงคราม 4.1.5 หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน / พี่เลี้ยง 5 หลักสูตร ครอบคลุมระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา รวมทั้งเด็กนอกระบบ | ปี 2558 – 2561 | มูลนิธิสยามกัมมาจล ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศ จังหวัดเพชรบุรี | ผู้บริหารโครงการ |
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในการบูรณาการงานเหล้า บุหรี่ เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอนามัยชุมชน ภาคกลาง 4.1.6 เป็นพี่เลี้ยงพัฒนา อสม. ให้ช่วยคนเลิกเหล้าและบุหรี่จำนวน 108 คน คนที่ลดเหล้าและบุหรี่จำนวน 66 คน 4.1.7 เกิดหลักสูตรในการพัฒนาศักยภาพ อสม. 5 หลักสูตร | ปี 2558 – 2559 | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) | หัวหน้าโครงการ |
โครงการการวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำของระบบนิเวศสามน้ำจังหวัดสมุทรสงคราม 4.1.8 สื่อสารกระบวนการดำเนินงานในรายการ 1 ในพระราชดำริ 4.1.9 เกิดการจัดทำแผนความมั่นคงด้านน้ำและบูรณาการงบประมาณทั้งในระดับท้องถิ่น จังหวัด และลุ่มน้ำ 4.1.10 หลักสูตรเสริมพลังชุมชน : การจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างมีส่วนร่วมในระดับชุมชน ท้องถิ่น และจังหวัด สำหรับเจ้าหน้าที่และชุมชน 3 หลักสูตร | ปี 2555 – 2558 | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่าย 3 | หัวหน้าโครงการ |
โครงการสนับสนุนทางเลือกการพัฒนาเพื่อบรรลุเป้าหมายสังคมอยู่เย็นเป็นสุข จังหวัดสมุทรสงคราม 4.1.11 ภาพอนาคตจังหวัดสมุทรสงคราม 20 ปี (พ.ศ.2555 – พ.ศ.2575) | ปี 2554 – 2555 | กระทรวงมหาดไทย UNDP | ทีมวิจัย |
โครงการสร้างกระบวนการขับเคลื่อนระดับชุมชนและจังหวัดในการจัดทำแผนพัฒนาและการจัดสรรงบประมาณระดับท้องถิ่นและจังหวัดที่บูรณาการเรื่องความอยู่ดีมีสุขและสิ่งแวดล้อมภายใต้โครงการสนับสนุนทางเลือกการพัฒนาเพื่อบรรลุเป้าหมายสังคมอยู่เย็นเป็นสุขจังหวัดสมุทรสงคราม 4.1.12 คู่มือการวางแผนพัฒนาที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมกับความอยู่ดีมีสุขสู่การบูรณาการงบประมาณในระดับท้องถิ่นและจังหวัด สำหรับเจ้าหน้าที่และชุมชน | ปี 2554 – 2555 | สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาค 8 ราชบุรี | หัวหน้าโครงการ |
ข. ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ (ต่อสาธารณะ, ชุมชน, กลุ่มเกษตรกร ฯลฯ)
นำผลงานจากการดำเนินโครงการศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสงครามตั้งแต่ปี 2546 – ปัจจุบัน เป็นหลัก มาใช้วางแผน ออกแบบกระบวนการ ยกระดับ และต่อยอดการบูรณาการการทำงานกับทุกโครงการที่ทำในช่วงที่ผ่านมา ดังนี้
- มีการนำแนวคิดและกระบวนการดำเนินงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นของศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสงครามไปประยุกต์ใช้กับการทำงานร่วมกับชุมชน หน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการจากสถาบันการศึกษา และภาคเอกชนอย่างต่อเนื่อง จนเกิดรูปธรรมการดำเนินงานในพื้นที่ เช่น การจัดการน้ำเพื่อลดความขัดแย้งในพื้นที่ตำบลแพรกหนามแดง จังหวัดสมุทรสงคราม แบบการจัดทำแผนความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามที่นำไปสู่ข้อบัญญัติท้องถิ่นในการใช้ประโยชน์จากที่ดิน การช่วยผู้สูบบุหรี่และผู้ดื่มสุราลดละได้โดยทีม อสม.ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม สิงห์บุรี และจังหวัดสมุทรสงคราม การประยุกต์ใช้เครื่องมือและความรู้ทางวิชาการในการบริหารจัดการน้ำร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น และการพัฒนาพี่เลี้ยงที่มาจากภาคเอกชนให้ทำงานร่วมกับชุมชนพื้นที่รอบองค์กร เป็นต้น
- เผยแพร่แนวคิดและกระบวนการดำเนินงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น และนำบทเรียนที่ได้จากการดำเนินงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นของศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสงคราม ไปปรับใช้กับการเป็นวิทยากรฝึกอบรมให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นชุมชน หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาต่างๆ รวมทั้งพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง
- สร้างรูปธรรมที่เกิดขึ้นจากงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นและพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ดูงานในประเด็นการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการศึกษา และการจัดสวัสดิการชุมชนและสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม และพื้นที่ใกล้เคียง
ค. ผลงานอื่น ๆ เช่น บทความ หนังสือ สิทธิบัตร ฯลฯ
- คู่มือการวางแผนพัฒนาที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมกับความอยู่ดีมีสุขสู่การบูรณาการงบประมาณในระดับท้องถิ่นและจังหวัด สำหรับเจ้าหน้าที่และชุมชน ปี 2555
- พัฒนาหลักสูตรเสริมพลังชุมชนการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างมีส่วนร่วมในระดับชุมชน ท้องถิ่น และจังหวัด สำหรับเจ้าหน้าที่และชุมชน ที่เกิดจากการดำเนินงานและบทเรียนของโครงการไปสู่การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมกับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสงคราม ปี 2558
- หนังสือถอดบทเรียนเชิงสังเคราะห์ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในการบูรณาการงานเหล้า บุหรี่ เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอนามัย“พลัง อสม. สานชุมชนบุหรี่ เหล้า” ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ปี 2560
ง. รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับ
- โครงการการวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำของระบบนิเวศสามน้ำจังหวัดสมุทรสงคราม ได้รางวัลงานวิจัยเด่นของ สกว. ปี 2558
จ. ผลงานในเชิงการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
กระตุ้นให้นักวิจัยชุมชนนำข้อมูลที่ได้จากการดำเนินงานไปตัดสินใจแก้ไขปัญหา และบูรณาการการสนับสนุนงบประมาณการดำเนินงานจากหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ เช่น การจัดการน้ำเพื่อลดความขัดแย้งในตำบลแพรกหนามแดง การอยู่ร่วมกันระหว่างคนกับช้างป่าอำเภอกุยบุรี การจัดสวัสดิการออมบุญบันละบาทตำบลแม่กลอง เป็นต้น