ประวัตินักวิจัย
ชื่อ-สกุล (ภาษาไทย):
นางสาวพรรรัตน์ เพชรภักดี
ตำแหน่งปัจจุบัน (ทางวิชาการ/ราชการ) :
ผู้อำนวยการอาวุโส
สถานที่ติดต่อ (ที่ทำงาน)
ที่อยู่ (หน่วยงาน):
สถาบันน้ำและสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ชั้น 8 อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีเชิงสร้างสรรค์ (มทรก.) เลขที่ 2 ถนนนางลิ้นจี่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์:
02 345 1260 โทรสาร 02 345 1257
โทรศัพท์มือถือ:
–
E-mail:
panratp@off.fti.or.th
ประวัติการศึกษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน)
ปริญญาโท: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2539-
ปริญญาตรี: วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี 2536
ภาระงานในปัจจุบัน (งานประจำที่รับผิดชอบ)
บริหารสถาบันน้ำและสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ผลงานที่ผ่านมา
2561 โครงการส่งเสริมสนับสนุนโรงงานอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมให้ได้รับรองโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Factory) ประจำปีงบประมาณ 2561
2561 โครงการยกระดับและจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 8 จังหวัด ในพื้นที่เป้าหมาย (จังหวัดระยอง สมุทรปราการ สมุทรสาคร ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ชลบุรี นครปฐม และปทุมธานี)
2561 โครงการส่งเสริมการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรในภาคอุตสาหกรรมระยะที่ 7
2561 โครงการศึกษาการใช้น้ำบาดาลอย่างมีประสิทธิภาพของภาคอุตสาหกรรม เพื่อการพัฒนาและอนุรักษ์น้ำบาดาล ในพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (กลุ่มอุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลัง และอุตสาหกรรมน้ำตาล)
2561 โครงการส่งเสริมการซื้อสินค้าและใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมผ่าน Green Card Application
2560 โครงการส่งเสริมการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรในภาคอุตสาหกรรมระยะที่ 6
2560 โครงการยกระดับการพัฒนาสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 8 จังหวัด (จังหวัดระยอง สมุทรปราการ สมุทรสาคร ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ชลบุรี นครปฐม และปทุมธานี)
2560 โครงการส่งเสริมและสร้างภาคีเครือข่ายในการใช้ระบบบัตรสะสมคะแนน (Green Card) ในการซื้อสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2560 โครงการศึกษาการใช้น้ำบาดาลอย่างมีประสิทธิภาพของภาคอุตสาหกรรม เพื่อการศึกษาและการอนุรักษ์น้ำบาดาลในพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (กลุ่มอุตสาหกรรมผลิตแป้งมันสำปะหลัง และอุตสาหกรรมน้ำตาล)
2559 โครงการขยายผลการส่งเสริมการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรในภาคอุตสาหกรรม ระยะที่ 5
2559 โครงการส่งเสริมการใช้ระบบบัตรสะสมคะแนน (Green Card) ในการซื้อสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2559 โครงการจัดทำแผนปฏิบัติการตามแผนพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมในพื้นที่ 15 จังหวัด (ภายใต้ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมอย่างมีศักยภาพเพื่อรองรับการลงทุน)
2559 โครงการดำเนินการตามแผนแม่บทการพัฒนาเข้าสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (จังหวัดระยอง จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดชลบุรี จังหวัดนครปฐม และจังหวัดปทุมธานี) (ภายใต้ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ)
2559 โครงการประเมินและการยอมรับการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศโดยภาคีต่างๆ
2559 โครงการขยายผลการส่งเสริมการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรในภาคอุตสาหกรรม ระยะที่ 6
2558 โครงการศึกษาเพื่อจัดทำแผนแม่บทเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (ภายใต้ค่าใช้จ่ายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ)
2558 โครงการขยายผลการส่งเสริมการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรในภาคอุตสาหกรรม ระยะที่ 4
2558 โครงการศึกษาเพื่อจัดทำแผนแม่บทพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (ภายใต้ค่าใช้จ่ายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ)
2558 โครงการดำเนินการตามแผนแม่บทการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (จ.ระยอง จ.สมุทรปราการ จ.สมุทรสาคร จ.ฉะเชิงเทรา และ จ.ปราจีนบุรี) (ภายใต้ค่าใช้จ่ายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ)
2558 โครงการจัดทำฉลากคาร์บอนสำหรับอุตสาหกรรมยางพารา และอุตสาหกรรมอื่นๆ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558
2558 โครงการนำร่องความร่วมมือ บัตรเดียวเขียวทั่วไทย Green Card
2558 โครงการให้ความรู้มุ่งสู่ชุมชนอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (ฉบับปรับปรุง) (ภายใต้ค่าใช้จ่ายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ)
2557 โครงการศึกษาแนวทางที่เหมาะสมในการจัดทำบัตรสะสมคะแนนเพื่อส่งเสริมการซื้อสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2557
2557 โครงการจัดทำฉลากคาร์บอนสำหรับอุตสาหกรรมยางพารา และอุตสาหกรรมอื่นๆ ประจำปีงบประมาณ 2557
2557 โครงการจัดทำแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เพื่อ Green Supply Chain ของอุตสาหกรรมเป้าหมายเพื่อการส่งออก
2556 โครงการการประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ : LCA (ภายใต้ค่าใช้จ่ายในการเพิ่มศักยภาพด้านเทคโนโลยีการผลิต สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและประหยัดพลังงานสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร)
2556 โครงการจัดทำฉลากคาร์บอนสำหรับอุตสาหกรรมยางพารา และอุตสาหกรรมอื่นๆ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
2556 โครงการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (ภายใต้ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการให้บริการ)
2556 โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเชิงพื้นที่ (Eco Industrial Complex) ภายใต้ค่าใช้จ่ายการพัฒนาสู่อุตสาหกรรมสีเขียว
2555 โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่สู่โครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM)
2555 โครงการจัดทำแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เพื่อ Green Supply Chain ของอุตสาหกรรมเป้าหมายเพื่อการส่งออก (อุตสาหกรรมยางพารา)
2555 โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเชิงพื้นที่ (Eco Industrial Complex) ภายใต้ค่าใช้จ่ายการพัฒนาสู่อุตสาหกรรมสีเขียว
2555 โครงการจัดทำฉลากคาร์บอนสำหรับอุตสาหกรรมยางพารา และอุตสาหกรรมอื่นๆ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555