เมนู

ผศ.ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง

ผศ.ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง

ศูนย์วิจัยวิศวกรรมน้ำและโครงสร้างพื้นฐาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ประวัตินักวิจัย

ชื่อ-สกุล (ภาษาไทย):

ผศ. ดร. ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง

ชื่อ-สกุล (ภาษาอังกฤษ):

PANUWAT PINTHONG

ตำแหน่ง (ทางวิชาการ/ราชการ):

ผชช.การบริหารจัดการน้ำและแบบจำลองทางคณิตศาสตร์/ เทคโนโลยีวิศวกรรมน้ำ/ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

สังกัด/หน่วยงาน:

ศูนย์วิจัยวิศวกรรมน้ำและโครงสร้างพื้นฐาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ที่อยู่:

1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กทม. 10800

โทรศัพท์:

02 555 2000 ต่อ 3258

โทรสาร:

02 587 4167                  

โทรศัพท์มือถือ:

090 992 8666

E-mail:

Panuwat.pinthong@gmail.com

ประวัติการศึกษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน)

ปริญญาเอก Ph.D. Water Engineering and Management, Asian Institute of Technology (AIT)

ปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมชลประทาน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

ภาระงานในปัจจุบัน (งานประจำที่รับผิดชอบ)

หัวหน้าศูนย์วิจัยวิศวกรรมน้ำและโครงสร้างพื้นฐาน และอาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ผลงานที่ผ่านมา

  • หัวหน้าโครงการพัฒนาจ้างศึกษาผลกระทบจาก Tidal wave, Wind wave และ Storm Surge ที่มีต่อคุณภาพน้ำด้านความเค็มและการบริหารจัดการน้ำ ณ จุดควบคุมของแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง (กรมชลประทาน, 2560)
  • หัวหน้าโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการใช้แบบจำลองสำหรับติดตามและประเมินสถานการณ์มลพิษในแหล่งน้ำธรรมชาติ (สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค สำนักปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2560)
  • หัวหน้าโครงการ/ ผู้เชี่ยวชาญแบบจำลองชลศาสตร์และการบริหารจัดการน้ำ  โครงการพัฒนาการบริหารจัดการน้ำอย่างเหมาะสมเพื่อปฏิรูปภาคการใช้น้ำเกษตรกรรมของประเทศไทย (สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน), 2559)
  • หัวหน้าโครงการ/ ผู้เชี่ยวชาญแบบจำลองชลศาสตร์และการบริหารจัดการน้ำ  โครงการพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์และระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ในสภาวะวิกฤติอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการใช้ประโยชน์ที่ดิน (สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน), 2558)
  • ที่ปรึกษากรมทรัพยากรน้ำ การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ปฏิบัติงานตั้งแต่ สิงหาคม 2557 ถึง พฤษภาคม 2558
  • หัวหน้าโครงการ/ ผู้เชี่ยวชาญด้าน Hydroinformatics/ แบบจำลองคณิตศาสตร์  โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านชุมชน ด้านเกษตร ด้านอุตสาหกรรม และด้านการใช้ประโยชน์จากแม่น้ำเจ้าพระยา/ป่าสัก (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, 2558)
  • หัวหน้าโครงการ/ ผู้เชี่ยวชาญด้าน Hydroinformatics และแบบจำลองคณิตศาสตร์  โครงการเฝ้าระวังควบคุมแหล่งกำเนิดมลพิษจังหวัดนนทบุรี (นนทบุรี, 2558)
  • หัวหน้าโครงการ/ ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมน้ำเสีย  โครงการเพิ่มศักยภาพการใช้พลังงานในระบบบำบัดน้ำเสีย (ซอยวัดหนองใหญ่)  (เมืองพัทยา, 2557)
  • หัวหน้าโครงการ/ ผู้เชี่ยวชาญด้าน Hydroinformatics/ แบบจำลองคณิตศาสตร์  โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านชุมชน ด้านเกษตร ด้านอุตสาหกรรม และด้านการใช้ประโยชน์จากแม่น้ำเจ้าพระยา/ป่าสัก (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, 2557)
  • หัวหน้าโครงการ/ ผู้เชี่ยวชาญด้าน Hydroinformatics และแบบจำลองคณิตศาสตร์ และการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ  โครงการจัดทำแผนบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการ จังหวัดสระบุรี (จังหวัดสระบุรี, 2556)
  • หัวหน้าโครงการ/ ผู้เชี่ยวชาญด้าน Hydroinformatics และแบบจำลองคณิตศาสตร์ และการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ  โครงการจัดทำแผนบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการ จังหวัดนนทบุรี (จังหวัดนนทบุรี, 2556)
  • หัวหน้าโครงการ/ ผู้เชี่ยวชาญด้าน Hydroinformatics และแบบจำลองคณิตศาสตร์  โครงการสำรวจออกแบบและจัดทำแผนแม่บทระบบระบายน้ำและป้องกันน้ำท่วมพื้นที่เมืองพัทยา (เมืองพัทยา, 2556)
  • รองหัวหน้าโครงการ/ ผู้เชี่ยวชาญด้าน Hydroinformatics และแบบจำลองคณิตศาสตร์  โครงการงานเชื่อมโยงโทรมาตร (กรมชลประทาน, 2555)
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านอุทกวิทยา/ ชลศาสตร์/ ทรัพยากรน้ำและแบบจำลองคณิตศาสตร์  โครงการระบบเครือข่ายน้ำในพื้นที่วิกฤติน้ำ 19 พื้นที่ (กรมทรัพยากรน้ำ, 2555)
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำ (Optimization)  โครงการพัฒนาแนวทางเลือกข้อมูลพยากรณ์ฝนระยะสั้น และการเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำให้เหมาะสม (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย, 2554)
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมชลศาสตร์  โครงการสำรวจและจัดทำผังแม่บท (Site Master Plan) ณ องค์การเภสัชกรรม ตำบลทับกวาง อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี  (องค์การเภสัชกรรม, 2554)
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมชลศาสตร์  โครงการออกแบบระบบสาธารณูปโภค สาธาณูปการ อาคารสนับสนุนต่าง ๆ สำหรับโครงการก่อสร้างโรงงานผลิตวัคซีนไข้หวัดใหญ่/งานปรับปรุงภูมิทัศน์ และงานระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (องค์การเภสัชกรรม, 2554)
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านอุทกวิทยาและชลศาสตร์ โครงการศึกษาวางแผนหลัก ศึกษาความเหมาะสมและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี (กรมโยธาธิการและผังเมือง, 2554)
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านอุทกวิทยา และชลศาสตร์  โครงการศึกษาความเหมาะสมสำรวจ ออกแบบการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ในเขตเทศบาลนครระยอง ตำบลเชิงเนิน ตำบลทับมา และตำบลเนินพระ อำเภอเมืองจังหวัดระยอง (องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง, 2553)
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมชลศาสตร์  โครงการจัดทำแผนแม่บทแก้ไขปัญหาวิกฤติน้ำ (พื้นที่ลุ่มน้ำยม) (กรมทรัพยากรน้ำ, 2553)
  • หัวหน้าโครงการ การประยุกต์ใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์เพื่อการศึกษารุกล้ำของความเค็มในลุ่มน้ำปะเหลียน จ.ตรัง  (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2553)วิทยากรฝึกอบรม MIKE BASIN ให้กับเจ้าหน้าที่ของกรมชลประทาน โครงการศึกษาความเหมาะสมและสำรวจออกแบบรายละเอียดอ่างเก็บน้ำคลองพร้าว จ.ตราด (กรมชลประทาน, 2552)
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมแหล่งน้ำ โครงการศึกษาและพัฒนาระบบบริหารงานอุทกภัยของกรมทางหลวง (กรมทางหลวง, 2552)
  • วิศวกรชลศาสตร์ โครงการศึกษาน้ำต้นทุนและสภาพน้ำท่วมในพื้นที่ก่อสร้างโรงไฟฟ้าหนองแซง จ.สระบุรี และโรงไฟฟ้าเสม็ดใต้ จ.ฉะเชิงเทรา  (Gulf JP Co. Ltd., 2551)
  • วิศวกรแบบจำลองคณิตศาสตร์ทางแหล่งน้ำ โครงการศึกษาความเหมาะสมโครงการผันน้ำลุ่มน้ำลำเชียงไกร จ.นครราชสีมา (กรมชลประทาน, 2551)
  • วิศวกรแหล่งน้ำ โครงการศึกษาด้านอุทกวิทยาและระบายน้ำของโครงการชีวาศรม (ชีวาศรม อินเตอร์เนชั่นแนล เฮลท์ รีสอร์ท, 2550)
  • วิศวกรชลศาสตร์ โครงการศึกษาออกแบบรายละเอียดทางวิศวกรรมของรางล่องแก่งเทียม จ.นครนายก (องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครนายก, 2549)
  • ผู้ช่วยสอนวิชา Water Resources System และวิชา Modeling of Water Resource, AIT  (Asian Institute of Technology, 2547-2549)
  • วิทยากรฝึกอบรมการใช้โปรแกรม MIKE BASIN จัดขึ้นที่ AIT โดย DHI (Thailand)  (Asian Institute of Technology, 2548) ผู้ช่วยวิจัย โครงการทำนายปริมาณน้ำท่วมในเขต กทม. (Asian Institute of Technology, 2547)

ผลงานวิจัย

  • Panuwat Pinthong. 2014. Modeling of Multiple Reservoir Operation System for Water Supply using Genetic Algorithm. The 2nd International Conference on Technical Education. November 6, 2014. Faculty of Technical Education, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Bangkok, Thailand.
  • Panuwat Pinthong. 2014. Real-time Decision-Making Modeling for Urban Flood Operation and Management. 13th International Conference on Urban Drainage (ICUD), 2014. September 7-12, 2014, Borneo Convention Centre Kuching, Sarawak, Malaysia.
  • Panuwat Pinthong and Roberto S. Clemente. 2014. Simulation of Surface/Subsurface Transport of Water and Solutes under Different Agro-Ecological Conditions and Practices. 2014 International Conference on Water Resource and Environmental Protection (WREP2014). June 7 – 8, 2014, Hong-Kong, China.
  • ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง (2557) การพัฒนาแบบจำลองการตัดสินใจสำหรับการบริหารจัดการน้ำท่วมของประเทศไทย  วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1-2557
  • ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง (2555) การวิเคราะห์มหาอุทกภัย 2554 ในเชิงวิชาการ วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2555
  • Pinthong, P., Das Gupta, A., Babel, M.S., and Weesakul, S. 2009. Improved reservoir operation using hybrid genetic algorithm and neurofuzzy computing. Water Resources Management, Vol. 23(4), Page 697-720.
  • ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง และสุทัศน์ วีสกุล (2551) การพัฒนาแบบจำลองการตัดสินใจบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำ Real-Time โดยใช้จีเนติกร่วมกับนิวโรฟัซซี การประชุมทางวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 13
  • Pinthong, P., Das Gupta, A., Babel, M.S., and Weesakul, S.  2006. “Daily streamflow forecasting using genetic algorithm based neurofuzzy approach” The 7th International Conference on Hydroinformatics: Innovate and Share. September 4-8. France.
  • ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง, Ashim Das Gupta และ สุทัศน์ วีสกุล (2549) “การพัฒนาแบบจำลองนิวโรฟัซซีร่วมกับจีเนติกสำหรับคาดการณ์ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำรายวัน”การประชุมทางวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 11
  • Pinthong, P., Das Gupta, A., and Babel, M.S.  2005. “Development and application of a decision base model for reservoir operation” The 31th International Association of Hydraulic Engineering and Research Congress: Water engineering for the future – choices and challenges.  September 11-16. Korea.
  • Pinthong, P., Das Gupta, A., and Plernphit Pankeaw.  2005. “Neurofuzzy modeling for reservoir operation” The 10th National Convention on Civil Engineering: Good practice in civil engineering. May 2-4. Thailand.
  • ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง และ เอกสิทธิ์ โฆสิตสกุลชัย (2547) “การพัฒนาแบบจำลองการตัดสินใจแบบฟัซซีสำหรับการจัดการอ่างเก็บน้ำ” การประชุมทางวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 9
  • ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง และ เอกสิทธิ์ โฆสิตสกุลชัย (2547) “การพัฒนาแบบจำลองสำหรับการจัดการอ่างเก็บน้ำโดยเกณฑ์แบบฟัซซี :กรณีศึกษาเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์” การประชุมทางวิชาการของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42 สาขาวิศวกรรมศาสตร์
  • ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง และ เอกสิทธิ์ โฆสิตสกุลชัย (2546) “แบบจำลองโดยเกณฑ์แบบฟัซซีสำหรับการจัดการอ่างเก็บน้ำ : กรณีศึกษาเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์”  วิศวกรรมสาร มก. ปีที่ 17 เล่มที่ 51