ประวัตินักวิจัย
ชื่อ-สกุล (ภาษาไทย):
ผศ. ดร.ธนพล เพ็ญรัตน์
ชื่อ-สกุล (ภาษาอังกฤษ):
Assist. Prof. Dr. Tanapon Phenrat
ตำแหน่งปัจจุบัน (ทางวิชาการ/ราชการ):
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัด/หน่วยงาน/ที่อยู่:
ภาควิศวกรรมโยธา สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
โทรศัพท์มือถือ:
093 134 4792
E-mail:
pomphenrat@gmail.com
สถานะปัจจุบัน
พ.ศ. 2556-ปัจจุบัน รองผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย สถานความเป็นเลิศเพื่อความยั่งยืนด้านสุขภาวะ สิ่งแวดล้อมและอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก
พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน หัวหน้าหน่วยวิจัยเชิงบูรณาการด้านการฟื้นฟูพื้นที่ปนเปื้อนและการนำทรัพยากรธรรมชาติกลับมาใช้ใหม่ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก
พ.ศ. 2557-ปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2553 Postdoctoral Research Training. Center for Environmental Implications of Nanotechnology, Carnegie Mellon University, Pittsburgh, USA
พ.ศ. 2552 Postdoctoral Research Center for Experimental Study of Subsurface Environmental Processes at Colorado School of Mines, Golden, Colorado, USA
พ.ศ. 2551 Ph.D. Civil and Environmental Engineering (Environmental Engineering and Science), Carnegie Mellon University, Pittsburgh, USA
พ.ศ. 2547 วท.ม. การจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย (นานาชาติ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2544 วศ.บ. โยธา(เกียรตินิยมอันดับ 1) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร
รางวัลที่ได้รับ
- รางวัลผลงานวิจัยเด่น สกว.ประจำปีพ.ศ. 2561 (2019) ด้านชุมชนและพื้นที่ เรื่อง “การฟื้นฟูดินปนเปื้อนสารอันตรายด้วยอนุภาคนาโนเพื่อการผลิตพืชอาหารปลอดภัยโดยชุมชน เพื่อชุมชน: กรณีนำร่อง นาข้าวปนเปื้อนแคดเมียม อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก” โดย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
- รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2562 (2019) รางวัลผลงานวิจัย ระดับดีมาก จากผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาและสาธิตการใช้อนุภาคนาโนของเหล็กประจุศูนย์ร่วมกับสนามแม่เหล็กในการฟื้นฟูดินและน้ำใต้ดินปนเปื้อนสารอันตราย”
- รางวัล 2018 TRF-OHEC-Scopus Young Researcher Award (2018) ในสาขา Engineering & Multidisciplinary Technology จาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) และ สำนักพิมพ์ Elservier (ผู้จัดทำฐานข้อมูลวารสารวิชาการนานาชาติ SCOPUS)
- Best Young Scientist Oral Presentation Award (2018) จาก CESE-2018 (The 2018 International Conference on the “Challenges in Environmental Science and Engineering”), November 4-8, 2018, Bangkok, Thailand.
- ชนะเลิศการประกวดงานวิจัย THE KING OF THAILAND VETIVER AWARDS (2015) สาขา Non Agricultural Application รับพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากงานวิจัยเรื่อง “Remediation of Water and Soil Contaminated with Phenol”
- รางวัลชนะเลิศการประกวดงานวิจัย The Vetiver Network International (TVNI) Award (2015) สาขา Mitigation of Contaminated Land and Water รับพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากงานวิจัยเรื่อง “Remediation of Water and Soil Contaminated with Phenol”
- The Best Entrepreneur Award 2014 of Takeda Foundation ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
- รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น (2014) จาก สภาวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2556
- รางวัลนักวิจัยดีเด่นด้านการวิจัยเชิงวิชาการพื้นฐาน (NU Outstanding Researcher in Basic Research) ของมหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปี 2554 (ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเข้ารับพระราชทานเข็มเกียรติคุณรางวัลนักวิจัยดีเด่น)
- ชนะเลิศการประกวด The ProSPER.Net–Scopus Young Scientist Award in Sustainable Development (Category: Sustainable Infrastructure) ประจำปี 2012 โดย the ProSPER.Net, Elsevier, และ United Nation University ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
- ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 18 ประจำปี 2554 มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย (2012) (รับเกียรติบัตรจาก ฯพณฯ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์)
- รางวัลชนะเลิศการประกวดข้อเสนอโครงการวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อมภายใต้บริบท “การพัฒนาที่ยั่งยืน” โดยศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2011)
- Mao Yisheng Outstanding Dissertation Award by Civil and Environmental Engineering, Carnegie Mellon University (2009).
- The First Place in PhD Dissertation Competition by Air and Waste Management Association (A&WMA) (2009)
- 2009 Best Student Presentation Award, sponsored by Adventus Group and Remediation Technology Summit (Remtec 09) (2009).
- 2008 Outstanding Student Research Paper of Geo-Institute, American Society of Civil Engineers (ASCE) (2008)
- 3rd place on Student Research Contest Sponsored by Geosyntec Consultants, Groundwater Practice Group at the Sixth International Conference on Remediation of Chlorinated and Recalcitrant Compounds (2008)
- Jacqueline Shields Award on Waste Management Issues from the Air and Waste Management Association (A&WMA), 2007.
- Air and Waste Management Scholarship from A&WMA, 2007-2008
สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ
- การจัดการและเทคโนโลยีการฟื้นฟูดินและน้ำใต้ดินปนเปื้อนสารอันตราย (Contaminated Site Remediation Technology and Management)
- ธรณีเคมีสิ่งแวดล้อมเพื่อการจัดการการปนเปื้อนจากกิจกรรมเหมืองแร่ (Environmental Geochemistry for Mining Contamination)
- นิติวิทยาสิ่งแวดล้อม (Environmental Forensics)
- การสำรวจพื้นที่ปนเปื้อนสารอันตรายด้วย Direct Push Techniques และ Membrane Interface Probe (Site Characterization by Geoprobe and Membrane Interface Probe (MIP))
- ไฟฟ้าเคมีเพื่อการบำบัดน้ำเสียอุตสาหกรรม (Electrochemical Approaches for Water and Wastewater Treatment: Ozonation, Electrolysis, Electroflotation, Electrocoagulation)
- เทคโนโลยีบำบัดน้ำและน้ำเสีย (Water and Wastewater Treatment)
- การใช้วัสดุนาโนแม่เหล็กและเหล็กประจุศูนย์ในการฟื้นฟูพื้นที่ปนเปื้อนสารอันตราย แบบ ในที่ (In Situ Site Remediation using Reactive Magnetic Nanomaterials)
- การประเมินการเคลื่อนที่ (Fate and Transport) ความเป็นพิษ (Toxicity) และความเสี่ยง (Risk) ของการใช้วัสดุนาโนต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
ประสบการณ์ทำงาน
ปี | ชื่อโครงการ | แหล่งทุน | สถานะ/ผลลัพธ์ |
2562 | Synthetic Bio-Gas (SBG): Subsurface Factory | บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) | กำลังดำเนินการ |
2562 | การพัฒนาระบบต้นแบบการบำบัดน้ำเสียโสโครกประสิทธิภาพสูงด้วยวิธีการเติมโอโซนร่วมกับการเติมอากาศแบบจุลินทรีย์เกาะตัวกลาง | อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ ปีงบประมาณ 2562 | กำลังดำเนินการ |
2562 | โครงการสำรวจและประเมินแนวทางการจัดการทรัพยากรดินและน้ำใต้ดิน ในพื้นที่บริเวณลานถัง: ระยะที่ 3 (ฟื้นฟูด้วยการฉีด Colloidal Activated Carbon) | บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) | กำลังดำเนินการ |
2652 | การประเมินผลกระทบจากโรงไฟฟ้าถ่านหินและขยะต่ออาชีพเลี้ยงโคนม และเกษตรอินทรีย์ อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี | ชุมชนมวกเหล็ก | กำลังดำเนินการ |
2562 | การวิจัยปรอทจากถ่านหินของประเทศไทย | มูลนิธิเพื่อสันติภาพเขียว (กรีนพีซ เอส อี เอ) | กำลังดำเนินการ |
2561-2562 | การสำรวจการปนเปื้อน และวางแผนการฟื้นฟูการปนเปื้อนสารอันตรายบริเวณโรงงานบริษัท แวกซ์ กาเบ็จ รีไซเคิล เซ็นเตอร์ จำกัด อำเภอรางบัว จังหวัดราชบุรี | ศาลแพ่ง บริษัท แวกซ์ กาเบ็จ รีไซเคิล เซ็นเตอร์ จำกัด และ ชุมชนน้ำพุ อ.จอมบึง จ.ราชบุรี | กำลังดำเนินการ |
2562 | การเฝ้าระวังและการประเมินผลกระทบข้ามพรมแดนต่อระบบนิเวศและสุขภาพมนุษย์จากโรงไฟฟ้าหงสา: ติดตามการปนเปื้อนปีที่ 3 | Earthrights International Inc. | กำลังดำเนินการ |
2562 | การสำรวจการปนเปื้อนสารอันตรายบริเวณนิคมอุตสาหกรรมโรจนะ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ด้วยการสำรวจความต้านทานไฟฟ้าธรณี และ เคมีวิเคราะห์ของดิน | นิคมอุตสาหกรรมโรจนะ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง | กำลังดำเนินการ |
2561 | โครงการศึกษาและกำหนดมาตรการทางวิศวกรรมเพื่อการจัดการแหล่งกำเนิด กลิ่นจากโรงงานผลิตยางมะตอยน้ำ | บริษัท ปตท. จำกัด(มหาชน) | เสร็จสิ้นโครงการ |
2559-2561 | กำแพงพลังแสงอาทิตย์สำหรับการฟื้นฟูและป้องกันการแพร่กระจายการปนเปื้อนโลหะหนักในดินและน้ำใต้ดินจากกิจกรรมเหมืองแร่ | สกอ | เสร็จสิ้นโครงการ |
2561 | Assessing Environmental Damage Caused by Improper Mine Waste Management of Eastern Mining Company Limited | Earthrights International Inc. | เสร็จสิ้นโครงการ |
2561 | การสำรวจและวางแผนการฟื้นฟูการรั่วไหลจากบ่อพักน้ำเสีย บริษัท ไทยซูซูกิมอเตอร์ จำกัด (ระยะที่ 1, 2, และ 3) | บริษัท ไทยซูซูกิมอเตอร์ จำกัด | เสร็จสิ้นโครงการ |
2561 | โครงการสำรวจและประเมินแนวทางการจัดการทรัพยากรดินและน้ำใต้ดิน ในพื้นที่บริเวณลานถัง: ระยะที่ 1 และ 2 | บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) | เสร็จสิ้นโครงการ |
2561 | สำรวจด้วยการปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหยในดินและน้ำใต้ดินของโรงงานวินิไทยด้วย Membrane Interface Probe (ระยะที่ 3) | บริษัทวินิไทย จำกัด (มหาชน) (ผ่าน AECOM, Thailand) | เสร็จสิ้นโครงการ |
2561 | สำรวจด้วยการปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหยในดินและน้ำใต้ดินของโรงงาน SPRC ด้วย Membrane Interface Probe (ระยะที่ 3) | บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด (มหาชน) (ผ่าน AECOM, Thailand) | เสร็จสิ้นโครงการ |
2561 | โครงการสำรวจและประเมินแนวทางการจัดการทรัพยากรดินและน้ำใต้ดิน ในพื้นที่อุตสาหกรรมปิโตรเคมี: ระยะที่ 2 | บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | เสร็จสิ้นโครงการ |
2561 | โครงการตรวจสอบผลกระทบฝุ่นละอองจากเหมืองทองคำชาตรี บริษัท อัครา รีซอร์สเซส จำกัด (มหาชน) | กองทุนประกันความเสี่ยง กระทรวงอุตสาหกรรม | เสร็จสิ้นโครงการ |
2559-2560 | การสำรวจตรวจสอบโอกาสการรั่วไหลของสารพิษจากบ่อกักเก็บกากแร่ TSF1 ของเหมืองทองคำ จังหวัดพิจิตร | กองทุนประกันความเสี่ยง กระทรวงอุตสาหกรรม | เสร็จสิ้นโครงการ พบการรั่วไหล และ ได้เปิดเผยรายงานสู่สาธารณะแล้ว |
2560 | การวางแผนการเฝ้าระวังและลดการปนเปื้อนสารอันตรายในดินและน้ำใต้ดินบริเวณโรงงาน (11 โรงงาน) บ. ไทย เพนตา-โอเชี่ยน จก., บริษัท ไทยซูซูกิมอเตอร์ จำกัด, บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำกัด (PTTAC), บริษัท อูเอโน ไฟน์ เคมีคัลส์ อินดัสตรี (ประเทศไทย) จํากัด, บริษัท สยาม พีวีเอส เคมิคอลส์ จำกัด, บริษัท โคเวสโตร (ประเทศไทย) จำกัด, ไดกิ้น อินดัสทรีส์ (ประเทศไทย) จํากัด, บริษัท โพลีวัน (ประเทศไทย) จํากัด, บริษัทไทยโทเรเท็กซ์ไทล์มิลลส์ จำกัด (มหาชน), บริษัท ไทย-ไลซาท จำกัด, บริษัท ลี้ เคมีคอล โปรดักส์ จำกัด | โรงงานทั้ง 11 | เสร็จสิ้นโครงการ |
2560 | สำรวจด้วยการปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหยในดินและน้ำใต้ดินของโรงงาน SPRC ด้วย Membrane Interface Probe (ระยะที่ 1 และ 2) | บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด (มหาชน) (ผ่าน AECOM, Thailand) | เสร็จสิ้นโครงการ |
2560 | สำรวจด้วยการปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหยในดินและน้ำใต้ดินของโรงงานวินิไทยด้วย Membrane Interface Probe (ระยะที่ 1 และ 2) | บริษัท วินิไทย จำกัด (มหาชน) (ผ่าน AECOM, Thailand) | เสร็จสิ้นโครงการ |
2560 | โครงการสำรวจและประเมินแนวทางการจัดการทรัพยากรดินและน้ำใต้ดิน ในพื้นที่อุตสาหกรรมปิโตรเคมี: ระยะที่ 1 | บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | เสร็จสิ้นโครงการ |
2560 | โครงการสำรวจและประเมินแนวทางการจัดการทรัพยากรดินและน้ำใต้ดิน ในพื้นที่อุตสาหกรรมกระดาษ | บริษัท ฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ จำกัด (มหาชน) | เสร็จสิ้นโครงการ |
2560 | งานจ้างที่ปรึกษาดำเนินการศึกษาแนวทางกำหนดระยะห่างระหว่างชุมชนกับสถานประกอบกิจการ ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 | กรมอนามัย กระทรวงสาธารณะสุข | เสร็จสิ้นโครงการ |
2560 | จัดจ้างที่ปรึกษาโครงการวิจัยการประเมินศักยภาพการฟื้นฟูน้ำใต้ดินโดย Colloidal Activated Carbon | บริษัท ปทต จำกัด (มหาชน) | เสร็จสิ้นโครงการ เตรียมจดสิทธิบัตร |
2559-2560 | โครงการสำรวจและประเมินแนวทางการจัดการทรัพยากรดินและน้ำใต้ดิน ในพื้นที่อุตสาหกรรมปิโตรเคมี: ระยะที่ 4 (“การศึกษาประสิทธิภาพและออกแบบระบบบำบัดแหล่งกำเนิดการปนเปื้อนด้วย Chemical Oxidation, Chemical Reduction, และ Air Sparging”) | บริษัทไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) | เสร็จสิ้นโครงการ ฟื้นฟูสำเร็จได้การฉีดอนุภาคคาร์บอนเพื่อดักจับสารปนเปื้อนในน้ำ |
2559-2560 | ต้นแบบกระบวนการจัดการความเสี่ยงและการฟื้นฟูการปนเปื้อนสารอันตรายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน:กรณีสาธิตการปนเปื้อนแคดเมียมในพื้นที่เพาะปลูกข้าว อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก | คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | เสร็จสิ้นโครงการ ได้การดำเนินการฟื้นฟูแปลงสาธิต 16 แปลง |
2559-2560 | การศึกษาการแพร่กระจายไซยาไนด์ในอากาศจากเหมืองทองคำชาตรี | งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยนเรศวร | กำลังดำเนินการ |
2559 | การประเมินผลกระทบต่อหญ้าทะเลอันเนื่องมาจากความขุ่นจากการเดินเรือขนส่งถ่านหินผ่านร่องน้ำ คลองรั้ว อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ | คณะอนุกรรมการไตรภาคีโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ | เสร็จสิ้นโครงการ |
2558-2559 | การเฝ้าระวังและการประเมินผลกระทบข้ามพรมแดนต่อระบบนิเวศและสุขภาพมนุษย์จากโรงไฟฟ้าหงสา: ค่าพื้นฐานปีที่ 1 | Earthrights International Inc. | เสร็จสิ้นโครงการ |
2558-2559 | การขยายผลการใช้ระบบหญ้าแฝกร่วมกับวิธีทางวิศวกรรมในการลดผลกระทบต่อชุมชนจากการลักลอบทิ้งกากอุตสาหกรรมในพื้นที่ภาคตะวันออก | สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | เสร็จสิ้นโครงการ |
2558-2559 | โครงการประเมินโอกาสรั่วไหลของตะกั่วจากกองแร่และหางแร่บริเวณโรงแต่งแร่คลิตี้ | กรมควบคุมมลพิษ และ กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร | เสร็จสิ้นโครงการ |
2558-2561 | การบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตแก๊สชีวภาพของโรงงานแป้งมันสำปะหลังโดยการตกตะกอนทำปุ๋ยไนโตรเจน และ ปุ๋ยฟอสเฟต | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) | กำลังดำเนินการ |
2558-2561 | การนำกากตะกอนจากการบำบัดน้ำเสียปนเปื้อนน้ำมันหล่อเย็นมาใช้ประโยชน์ | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) | กำลังดำเนินการ |
2558-2559 | การให้ความรู้และปรับปรุงระบบผลิตน้ำประปาภูเขาในพื้นที่ปนเปื้อนสารตะกั่ว หมู่บ้านคลิตี้ล่าง ต.ชะแล อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี | งบประมาณแผ่นดิน | กำลังดำเนินการ |
2558-2558 | โครงการสำรวจและประเมินแนวทางการจัดการทรัพยากรดินและน้ำใต้ดิน ในพื้นที่อุตสาหกรรมปิโตรเคมี: ระยะที่ 3 (การศึกษาประสิทธิภาพและการติดตั้งระบบบำบัด In-well treatment) | บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) | เสร็จสิ้นโครงการ ฟื้นฟูสำเร็จได้ระบบ In-Well Treatment |
2557-2558 | ต้นแบบระบบบำบัดน้ำเสียโดยไฟฟ้า โครงการเอสวัน | บริษัท ปตท. สผ. สยามจำกัด | เสร็จสิ้นโครงการ |
2558-2559 | งานวิจัยมหาวิทยาลัยนเรศวรด้านวิศวกรรมการจัดการความเสี่ยงเพื่อชุมชนปนเปื้อนสารอันตรายในอาเซียน | กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร | เสร็จสิ้นโครงการ |
2557-2557 | การสาธิตและทดสอบการใช้งาน Membrane Interface Probe (MIP) และเครื่องขุดเจาะแบบต่อเนื่อง (Direct Push Machine (Geoprobe)) ในการคัดกรองการปนเปื้อนสารอินทรีย์ในสถานีบริการน้ำมัน | บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จำกัด มหาชน | เสร็จสิ้นโครงการ |
2557-2557 | โครงการสำรวจและประเมินแนวทางการจัดการทรัพยากรดินและน้ำใต้ดิน ในพื้นที่อุตสาหกรรมปิโตรเคมี: ระยะที่ 2 | บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) | เสร็จสิ้นโครงการ เตรียมต่อระยะที่ 2 |
2557-2558 | การสาธิตและประเมินประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์หญ้าแฝกในการบำบัดฟื้นฟูดินและน้ำที่ปนเปื้อนสารฟีนอลจากการลักลอบทิ้งกากอุตสาหกรรมในตำบลหนองแหน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา อย่างครบวงจร | สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | เสร็จสิ้นโครงการ |
2557-2558 | การประเมินความเหมาะสม การออกแบบ และสาธิตการใช้เทคนิคการครอบตะกอนท้องน้ำ (In Situ Sediment Capping) เพื่อการฟื้นฟูลำห้วยคลิตี้ จังหวัดกาญจนบุรี ที่ปนเปื้อนสารตะกั่ว | งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยนเรศวร | เสร็จสิ้นโครงการ |
2557-2558 | วิเคราะห์และเสนอแนะปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียบริษัท พิษณุโลกโกลด์มิลค์ จำกัด | บริษัท พิษณุโลกโกลด์มิลค์ จำกัด | เสร็จสิ้นโครงการ |
2557-2558 | โครงการปรับปรุงระบบคุณภาพน้ำประปา (น้ำบาดาล) โรงพยาบาลนาโพธิ์ อ.นาโพธิ์ จ.บุรีรัมย์ | โรงพยาบาลนาโพธิ์ อ.นาโพธิ์ จ.บุรีรัมย์ | เสร็จสิ้นโครงการ |
2556-2557 | การสลายสารฟีนอลปนเปื้อนในน้ำใต้ดินบ่อตื้นเพื่อการอุปโภค-บริโภคของชาวบ้าน ตำบลหนองแหน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยใช้โอโซน | งบรายได้มหาวิทยาลัยนเรศวร และ งบประมาณฉุกเฉินจากสำนักนายกรัฐมนตรี | เสร็จสิ้นโครงการ |
2556-2558 | การประเมินความเหมาะสมของการใช้อนุภาคนาโนของเหล็กประจุศูนย์ ร่วมกับการแยกแบบอิเล็กโทรไคเนทิกจากพลังงานแสงอาทิตย์ในการปรับเสถียรดินและฟื้นฟูดินที่ปนเปื้อนแคดเมียมในพื้นที่เพาะปลูกข้าว อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก | งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยนเรศวร | เสร็จสิ้นโครงการ |
2556-2556 | การประเมินความเสี่ยงนิเวศแหล่งน้ำในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษ จังหวัดระยองโดยใช้หอยสองฝาบริเวณชายฝั่งทะเลและทำแนวทางการแก้ไขและการป้องกันการปนเปื้อนสารอันตรายในดินและน้ำใต้ดินแบบบูรณาการพร้อมกลไกสู่การปฏิบัติ: กรณีศึกษาการแพร่กระจายและการสะสมโลหะหนักและสารอินทรีย์กึ่งระเหย | กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | เสร็จสิ้นโครงการ |
2556-2557 | การประเมินความเหมาะสมของการใช้อนุภาคนาโนของเหล็กประจุศูนย์ และผงเหล็กประจุศูนย์ในการปรับเสถียรดินและฟื้นฟูดินที่ปนเปื้อนแคดเมียมในพื้นที่เพาะปลูกข้าว อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก | ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร | เสร็จสิ้นโครงการ |
2556-2558 | การใช้โฟมที่ปรับเสถียรด้วยอนุภาคแม่เหล็กนาโนร่วมกับการเหนี่ยวนำความร้อนทางแม่เหล็กไฟฟ้าในการเร่งการฟื้นฟูพื้นที่ปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหยด้วยวิธีสกัดไอดิน | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) | เสร็จสิ้นโครงการ |
2555-2556 | อิทธิพลของชนิดของดินและเคมีธรณีของน้ำใต้ดินในประเทศไทยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของการใช้อนุภาคนาโนของเหล็กประจุศูนย์ร่วมกับการเหนี่ยวนำความร้อนทางแม่เหล็กไฟฟ้าในการเร่งการฟื้นฟูน้ำใต้ดินและดินที่ปนเปื้อนด้วยมลสารอินทรีย์ระเหยที่มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ | งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยนเรศวร | เสร็จสิ้นโครงการ |
2555-2556 | การจัดทำฐานข้อมูลเทคนิคในการฟื้นฟูดินและน้ำใต้ดินที่ปนเปื้อนสารอันตรายและประเมินภาวะคุกคามของสารอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อการจัดการพื้นที่ปนเปื้อนสารอันตรายในน้ำใต้ดิน | กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | เสร็จสิ้น/ได้ฐานข้อมูลเทคนิคในการฟื้นฟูดินและน้ำใต้ดินที่ปนเปื้อนสารอันตรายอันแรกของประเทศ (http://ttigerr.org/) และสาธิตการประเมินภาวะคุกคามจากพื้นที่ปนเปื้อนสารอันตรายเป็นครั้งแรกของประเทศ |
2555-2556 | โครงการจ้างวิเคราะห์สารไตรคลอโรเอทธิลีนจากการใช้การเหนี่ยวนำความร้อนจากแม่เหล็กไฟฟ้าร่วมกับผงเหล็กประจุศูนย์ | กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | เสร็จสิ้น/ 1 บทความทางวิชาการสำหรับตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ (กำลังจัดเตรียมต้นฉบับ) |
2555-2556 | การใช้อนุภาคนาโนของเหล็กประจุศูนย์ที่ถูกปรับปรุงด้วยโพลีเมอร์ร่วมกับการเหนี่ยวนำความร้อนทางแม่เหล็กไฟฟ้าในการเร่งการฟื้นฟูน้ำใต้ดินและดินในประเทศไทยที่ปนเปื้อนด้วยมลสารอินทรีย์ระเหยที่มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ | มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย (เงินทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 18 ประจำปี 2554) | เสร็จสิ้น/ 1 บทความทางวิชาการสำหรับตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ (กำลังจัดเตรียมต้นฉบับ) |
2554-2555 | การใช้ประโยชน์จากระบบแนวกันชนหญ้าแฝกรอบนิคมอุตสาหกรรมเพื่อการเฝ้าระวังและตรวจสอบการปนเปื้อนดินและน้ำใต้ดินด้วยสารอันตราย | สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | กำลังดำเนินการ/ 1 บทความในวารสารในประเทศ |
2554-2556 | การศึกษาเชิงพื้นฐานของการใช้อนุภาคแม่เหล็กนาโนที่ถูกปรับปรุงด้วยโพลีเมอร์ในการกำจัดแหล่งกำเนิดของสารอันตรายประเภทสารอินทรีย์ระเหยที่มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบจากน้ำใต้ดินและดินที่ปนเปื้อนโดยการใช้ความร้อนที่สร้างด้วยการเหนี่ยวนำทางแม่เหล็กไฟฟ้า | ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ | เสร็จสิ้น/ 4 บทความทางวิชาการสำหรับตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ (กำลังจัดเตรียมต้นฉบับ) |
2554-2555 | การประเมินความเหมาะสมของการใช้อนุภาคนาโนของเหล็กประจุศูนย์ร่วมกับการเหนี่ยวนำความร้อนทางแม่เหล็กไฟฟ้าในการเร่งฟื้นฟูน้ำใต้ดินและดินในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดที่ปนเปื้อนด้วยมลสารอินทรีย์ระเหยที่มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ | กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยนเรศวร | เสร็จสิ้น/ 1 บทความทางวิชาการสำหรับตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ (กำลังจัดเตรียมต้นฉบับ) |
2554-2555 | การประเมินความเหมาะสมของการใช้อนุภาคนาโนของเหล็กประจุศูนย์ที่ถูกปรับปรุงด้วยโพลีเมอร์ร่วมกับการเหนี่ยวนำความร้อนทางแม่เหล็กไฟฟ้าในการเร่งฟื้นฟูน้ำใต้ดินและดินในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดที่ปนเปื้อนด้วยมลสารอินทรีย์ ระเหยที่มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ | กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | เสร็จสิ้น/ 1 บทความทางวิชาการสำหรับตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ (กำลังจัดเตรียมต้นฉบับ) |
2554-2555 | การจัดทำรายงานการประเมินความต้องการด้านเทคโนโลยี (TNA Report) และ รายงานการประเมินความต้องการด้านเทคโนโลยี และแผนปฏิบัติการด้านเทคโนโลยี (TNA and TAP Report) โครงการการประเมินความต้องการเทคโนโลยี ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสำหรับประเทศไทย | สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ | ดำเนินการเสร็จสิ้น/ รายงาน TNA and TAP Report ของประเทศไทย |
2554-2555 | วางระบบโครงข่ายตรวจสอบปริมาณสารอินทรีย์ระเหยในไอสารในดิน (soilgas monitoring network) โดยขุดเจาะชั้นดิน โดยใช้เครื่องขุดเจาะแบบต่อเนื่อง (Geoprobe) และ ติดตั้งระบบและทดสอบประสิทธิภาพในการบำบัดสารอินทรีย์ระเหยในดิน โดยใช้ระบบ Soil Vapor Extraction (SVE) เคลื่อนที่ | กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | ดำเนินการเสร็จสิ้น/ติดตั้งและสาธิตการฟื้นฟูด้วย SVE แห่งแรกในประเทศไทย |