เมนู

รศ.ดร.วิษณุ อรรถวานิช

รศ.ดร.วิษณุ อรรถวานิช

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน

ประวัตินักวิจัย

ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย):

รองศาสตราจารย์ ดร.วิษณุ อรรถวานิช

ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ):

Assoc. Prof. Dr. Witsanu Attavanich

ที่อยู่:

ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
50 ถนนงามวงศ์วาน ลาดยาว จตุจักร กทม 10900

E-Mail:

fecowna@ku.ac.th หรือ attavanich.witsanu@gmail.com

โทรศัพท์:

02-561-3474 ต่อ 211

โทรสาร:

02-561-3474 ต่อ 501

เว็บไซต์ส่วนตัว:

ประวัติการทำงาน

  • อาจารย์ประจำภาควิชาเศรษฐศาสตร์ (ม.ค. 2545 – ปัจจุบัน) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • รองหัวหน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์ฝ่ายวิจัย (มี.ค. 2562 – ปัจจุบัน) ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (มิ.ย. 2562 – ปัจจุบัน) สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
  • คณะกรรมการอำนวยการ สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ (ธ.ค. 2562 – ปัจจุบัน) วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ
  • คณะกรรมการอำนวยการ มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย (มิ.ย. 2562 – ปัจจุบัน) ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ (พ.ย. 2562 – ปัจจุบัน) เพื่อเพิ่มพูนรายได้ประชาชน สำนักนายกรัฐมนตรี
  • ผู้ช่วยรองบรรณาธิการ วารสาร Climatic Change, Springer (ธ.ค. 2562 – ปัจจุบัน)
  • กองบรรณาธิการ วารสาร Atmosphere, MDPI (ธ.ค. 2562 – ปัจจุบัน)
  • รองบรรณาธิการ วารสาร Kasetsart Journal of Social Sciences (KJSS)  (ก.พ. 2562 – ปัจจุบัน) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   
  • บรรณาธิการร่วม วารสาร Applied Economics Journal (AEJ) (พ.ย. 2555 – ปัจจุบัน) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์    
  • กองบรรณาธิการ วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ม.ค. 2560 – ปัจจุบัน) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจด้านวิชาการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ (ม.ค. 2563 – ปัจจุบัน) คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
  • คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG Model (ก.พ. 2564 – ปัจจุบัน) สาขาความหลากหลายทางชีวภาพ กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ
  • คณะอนุกรรมการแผนงานกลุ่มเศรษฐกิจหมุนเวียน (เม.ย. 2563 – ปัจจุบัน) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ
  • คณะกรรมการด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน (มี.ค. 2562 – ปัจจุบัน) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • คณะกรรมการด้านการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ (มี.ค. 2562 – ปัจจุบัน) และการใช้ประโยชน์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • คณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานโปรแกรมมันสำปะหลัง (เม.ย. – ต.ค. 2563) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • คณะทำงานขับเคลื่อนและติดตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุดมศึกษา (ส.ค. 2562 – ก.ค. 2563) วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินผลกระทบเชิงเศรษฐศาสตร์ สังคม และสิ่งแวดล้อม (ก.พ. 2561 – ม.ค. 2563) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • คณะทำงานช่วยปฏิบัติราชการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ส.ค. 2561 – ก.ค. 2562)
  • ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมาธิการด้านการเงิน การธนาคาร สถาบันการเงินและ (ส.ค. 2561 – พ.ค. 2562) ตลาดทุน ในคณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ การเงิน และการคลัง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
  • คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการบริหารเพื่อสร้างมูลค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ (ม.ค. 2560 – พ.ค. 2562) องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
  • บรรณาธิการรับเชิญ วารสาร Atmosphere, MDPI (ก.พ. – ธ.ค. 2562)
  • ประธานคณะทำงานพัฒนาเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์และตัวชี้วัดเพื่อ (ก.พ. 2560 –พ.ค. 2562) สร้างมูลค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ ขสมก.
  • กองบรรณาธิการ วารสาร Kasetsart Journal of Social Sciences (KJSS) (ก.พ. 2560 – ก.พ. 2562) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   
  • คณะกรรมการประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ก.พ. 2560 – ก.พ. 2562)
  • รองผู้อำนวยการศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ (มี.ค. 2556 – ต.ค. 2560) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • รองประธานอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ (ก.พ. 2556 – ต.ค. 2560) ศูนย์ติดตามและพยากรณ์เศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • คณะกรรมการชำนาญการ โครงการประเมินและการยอมรับการเป็นเมือง (ส.ค. 2559 – ก.ค. 2560) อุตสาหกรรมเชิงนิเวศโดยภาคีต่างๆ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • คณะกรรมการการกำกับการจัดทำ Intended Nationally(พ.ค. 2558 – เม.ย. 2559) Determined Contributions (INDCs) ของไทย
  • อนุกรรมการด้านการประเมินทางเศรษฐศาสตร์ (ก.พ. 2556 – ต.ค. 2558) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • รองหัวหน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์ฝ่ายวิจัย (ม.ค. 2556 – พ.ค. 2558) ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนิสิต (เม.ย. 2547 – พ.ค. 2550) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประวัติการศึกษา/ฝึกอบรม

  • 2562, 2560, 2559, 2557 – Visiting Fellow, Harris Manchester College, University of Oxford, UK.
  • 2560 – นักวิชาการอาคันตุกะ สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ธนาคารแห่งประเทศไทย
  • 2555 – Postdoctoral (Agricultural and Applied Economics), Rutgers, the State University of New Jersey, USA.
  • 2554 – Ph.D. (Agricultural Economics), Texas A&M University, USA. ทุนการศึกษาขั้นสูงเชิงกลยุทธ์เพื่อการสร้างเครือข่ายวิจัยระดับแนวหน้า สกอ.
  • 2547 – เศรษฐศาสตรบัณฑิต (ศึกษาเป็นภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทุนการศึกษาธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
  • 2544 – วิทยาศาสตรบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับหนึ่งเหรียญทอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สาขาที่เชี่ยวชาญและสนใจ

เศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ: ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (Resource and Environment); การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change); การเกษตร (Agriculture); การพัฒนาและวางแผน (Development and Planning); การประเมินโครงการและนโยบาย (Program & Policy Evaluation); พลังงาน (Energy); การจัดการ (Management)

ผลงานทางวิชาการ

วิทยานิพนธ์

ปริญญาเอก: Essays on the Effect of Climate Change on Agriculture and Agricultural Transportation

Advisor: Dr. Bruce A. McCarl, University Distinguished and Regents Professor & 2007 Nobel Peace Prize Participant through efforts on Intergovernmental Panel on Climate Change.

ปริญญาโท: The Effects of the EU’s Directive on Waste from Electrical and Electrical Equipment (WEEE) on Thailand’s Industry: A Case Study of Air-Conditioning Machine Industry.

Advisor: Dr. Thamavit Terdudomtham, Associated Professor

หนังสือ/ตำรา

วิษณุ อรรถวานิช และคณะ. 2563. สมุดปกฟ้าอากาศสะอาด ประเทศไทย (Clean Air Blue Paper, Thailand). เครือข่ายอากาศสะอาด ประเทศไทย. ISBN 978-616-393-295-2 (บรรณาธิการและผู้เขียน)

วิรุฬ ลิ้มสวาท และคณะ. 2562. สมุดปกขาวอากาศสะอาด ประเทศไทย (Clean Air White Paper, Thailand). เครือข่ายอากาศสะอาด ประเทศไทย. https://thailandcan.org/whitebook/ (ผู้เขียน)

วิษณุ อรรถวานิช. 2559. เศรษฐศาสตร์พลังงาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. สำนักพิมพ์บริษัท แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น จำกัด. 257 หน้า ISBN 978-616-374-721-1, 276 หน้า

วิษณุ อรรถวานิช 2560. เศรษฐศาสตร์การจัดการ: เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ. ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ISBN 978-616-440-490-8, 240 หน้า

วิษณุ อรรถวานิช 2559. เศรษฐศาสตร์จุลภาค I. ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ISBN 978-616-423-554-0, 325 หน้า

บทความวิชาการที่มีการตีพิมพ์

1)      Pipitpukdee, S., Attavanich, W., and Bejranonda, S. 2020. Impact of Climate Change Land Use, Yield, and Production of Cassava in Thailand. Agriculture 2020, 10(9), 402

2)      Pipitpukdee, S., Attavanich, W., and Bejranonda, S. 2020. Climate Change Impacts on Sugarcane Production in Thailand. Atmosphere 2020, 11, 408.

3)     Pochanasomboon, A., Attavanich, W. and Kidsom, A., 2020. Impacts of Land Ownership on the Economic Performance and Viability of Rice Farming in Thailand. Land9(3), 71.

4)      Attavanich, W. 2019. Cost of Thai Society from Air Pollution and Countermeasures. aBRIDGEd Issue 7/2019: 1-11. Puey Ungphakorn Institute for Economic Research, Bank of Thailand

5)      Hein, Y., Vijitsrikamol, K., Attavanich, W., & Janekarnkij, P. 2019. Do Farmers Perceive the Trends of Local Climate Variability Accurately? An Analysis of Farmers’ Perceptions and Meteorological Data in Myanmar. Climate 7(64): 1-21.

6)      Hein, Y., Vijitsrikamol, K., Attavanich, W., & Janekarnkij, P. 2019. Economic Assessment of Climate Adaptation Options in Myanmar Rice-Based Farming System. Journal of Agricultural Science 11(5): 35-48.

7)      Brown, M.E., R.C. Carr, K.L. Grace, K. Wiebe, C.C. Funk, W. Attavanich, P. Backlund, and L. Buja. 2017. Do Markets and Trade Help or Hurt the Global Food System Adapt to Climate Change? Food Policy 68: 154–159.

8)      Attavanich, W., R. Mungkung, I. Mahathanaseth, S. Sanglestsawai, and A. Jirajariyav. 2017. Developing Green GDP Accounting for Thai Agricultural Sector using the Economic Input Output – Life Cycle Assessment to Assess Green Growth. Journal of Sustainable Energy & Environment 8: 13-15.

9)      Attavanich, W., B.J. Schilling, K.P. Sullivan, and L.J. Marxen. 2016. “Measuring the Effects of Preservation on Farm Profits in a Continuous Treatment Setting” Applied Economics 48(60): 5850-5865.

10)   Attavanich, W. 2016. “Did the Thai Rice-Pledging Program Improve the Economic Performance and Viability of Rice Farming?” Applied Economics 48(24): 2253-2265.

11)   Attavanich, W., B.S. Rashford, R.M. Adams, and B.A. McCarl. 2014. “Land Use, Climate Change, and Ecosystem Services.” In the Oxford Handbook of Land Economics., Eds. Duke, M. Joshua, and J.J. Wu. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-976374-0, pp 800.

12)   McCarl, B.A., W. Attavanich, M. Musumba, J. Mu, and R. Aisabokhae. 2014. “Land Use and Climate Change.” In the Oxford Handbook of Land Economics., Eds. Duke, M. Joshua, and J.J. Wu. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-976374-0, pp 800.

13)   Schilling, B.J., W. Attavanich, K.P. Sullivan, and L. Marxex. 2014. “Measuring the Effect of Farmland Preservation on the Profitability of Farms.” Land Use Policy 41: 84-96.

14)   Attavanich, W. and B.A. McCarl. 2014. “How is CO2 Affecting Yields and Technological Progress? A Statistical Analysis.” Climatic Change 124(4): 747-762.

15)   Schilling, B.J., W. Attavanich, and Y. Jin. 2014. “Does Agritourism Enhance Farm Profitability?” Journal of Agricultural and Resource Economics 39(1): 69-87.

16)   Attavanich, W., B.A. McCarl, Z. Ahmedov, S. Fuller, and D.V. Vedenov. 2013. “Effects of Climate Change on U.S. Grain Transport.” Nature Climate Change 3: 638–643.

17)   Attavanich, W. 2013. The Effect of Climate Change on Thailand’s Agriculture. 7th International Academic Conference Proceedings. September 1-4, 2013. Prague, Czech Republic. Published by International Institute of Social and Economic Sciences, ISBN: 978-80-905241-7-0: Page 23-40.

18)   Attavanich, W., B. A. McCarl, and R. Hughes. 2011. “Trade Liberalization, Climate Change Policies, and the Environment: The Growing Interaction and Impact: Discussion.” American Journal of Agricultural Economics 93(2): 558–559.

19)    Attavanich, W., B. A. McCarl, and D. Bessler. 2011. “The Effect of H1N1 (Swine Flu) Media Coverage on Agricultural Commodity Markets.” Applied Economic Perspectives and Policy 33(2): 241–259.

บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการโดยสังเขป

1)      Mhudchuay, T., Kasetkasem, T., Attavanich, W., Kumazawa, I. and Chanwimaluang, T., 2019, July. Rice Cultivation Planning Using A Deep Learning Neural Network. In 2019 16th International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON) (pp. 822-825). IEEE.

2)      Attavanich, W. 2019. Social Cost of Air Pollution in Thailand. The 21st Thammasat-Kasetsart-Mahidol-Royal Thai Navy Academic Conference. Thammasat University, Thailand. September 6, 2019.

3)      Attavanich, W. 2019. Effects of the Cropland Zoning Policy on Thailand’s Agricultural Sector. International Conference on “Impacts of Climate Change on Food Security, Environment and Economy” Organized by Korea University, Kangwon National University, and Korea Rural Economic Institute, Jeju, Republic of Korea May 23-27, 2019           

4)      Attavanich, W. 2018. The Effect of Climate Change on Thailand’s Agriculture: New Results. 2018 Bruce McCarl Lecture Series. Organized by Chung-Hua Institution for Economic Research (CIER), Taiwan, May 15-16.

5)      Attavanich, W., R. Mungkung, I. Mahathanaseth, S. Sanglestsawai, and A. Jirajariyav. 2016. Developing Green GDP Accounting for Thai Agricultural Sector Using the Economic Input Output – Life Cycle Assessment to Assess Green Growth. SEE 2016 in conjunction with ICGSI 2016 and CTI 2016 On “Energy & Climate Change: Innovating for a Sustainable Future” 28-30 November 2016, Bangkok, Thailand.

6)      Attavanich, W. 2016. “The Effect of Climate Change on Global Rice Production under Shared Socioeconomic and Representative Concentration Pathways” Selected Paper Presented at the 2016 East Southeast and South Asia Taiwan Korea Japan Agricultural Economics Conference, Taipei, Taiwan, November 5-8.

7)      Attavanich, W. 2016. “Evaluating the Impact of the Rice Price Policy on Economic Well-Being of Farm Household in Thailand” Selected Paper Presented at the 2016 Australian Agricultural and Resource Economics Society 60th Annual Conference, Park Hyatt Hotel, Canberra, ACT, Feb 2-5.

8)      Brown et al. 2015. “Climate Change and Global Food Security: Food Access, Utilization, and the US Food System.” 2015 American Geophysical Union (AGU) Fall Meeting. San Francisco, USA. December 14-18.

9)      Brown et al. 2015. “USDA Town Hall on Climate Change, Global Food Security and the U.S. Food System Report.” 2015 American Geophysical Union (AGU) Fall Meeting. San Francisco, USA. December 14-18.

10)   Walsh et al. 2015. Global Food Security in a Changing Climate: Considerations and Projections.”2015 American Geophysical Union (AGU) Fall Meeting. San Francisco, USA. December 14-18

11)   Attavanich, W. 2014. “Evaluating Impacts of Rice-Pledging Program on Economic Viability of Rice Farming in Thailand.” Selected Paper Presenting at the 14th International Convention of the East Asian Economic Association, Bangkok, Thailand. November 1-2.

12)   Schilling, B.J., W. Attavanich, and Y. Jin. 2013. “Does Agritourism Enhance Farm Profitability?” Selected Paper Presenting at 2013 NAREA Annual Meeting, Ithaca, NY, USA. June 22–25.

13)   Attavanich, W. 2013. “The Effect of Climate Change on Thailand’s Agriculture.”  Selected Paper Presenting at the 7thInternational Academic Conference, Prague, Czech Republic. September 1–4.

14)   Attavanich, W., B.J. Schilling, K.P. Sullivan, and L.J. Marxen. 2012. “Do Farmland Preservation Programs Improve the Profitability of Farming? Selected Poster Presenting at 2012 AAEA Annual Meeting, Seattle, WA, USA. August 12–14.

15)   Attavanich, W., B.S. Rashford, R.M. Adams, and B.A. McCarl. 2012. “Land Use, Climate Change, and Ecosystem Services.” Selected Paper Presenting at 2012 AAEA Annual Meeting, Seattle, WA, USA. August 12–14 (AERE Session).

 การนำเสนอทางวิชาการที่ถูกรับเชิญจากหน่วยงานต่างๆ

ภาษาอังกฤษ

1)      Evaluating Impacts of Climate Change on Food Security and Implications of Adaptation Policies in Thai Agriculture. 2020 International Advanced Research Webinars on Agricultural and Environmental Sustainability. Organized by National Chung Hsing University. November 20, 2020

2)      Slaughtering the planet: Future of animal agriculture and plant-based meat in a post-Covid world. Organized by The Foreign Correspondents’ Club of Thailand: Panel discussion. Bangkok, Thailand. 16 September 2020.

3)      Structural Transformation in Thai Agriculture: Challenges and Solutions for Sustainability. (Keynote Speaker). 16th RSEP International Multidisciplinary Conference. The Review of Socio-Economic Perspectives (RSEP), Thailand February 4-6, 2020.

4)      Climate Change and Thailand’s Agriculture. Program for smart agriculture technologies and policies for the adaptation of climate change, Ministry of Agriculture, The People’s Republic of Bangladesh organized by King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Kasetsart University, Bangkok, Thailand February 13, 2020.

5)      Accelerating climate change adaptation with digital solutions in Thailand’s agriculture. International Conference on “Digital Solutions to Accelerate Adaptation to Climate Change in Agriculture” Divecha Centre for Climate Change, Indian Institute of Science CGIAR and CCAFS Bengaluru, India. Jan 13-14, 2020.

6)      Agriculture and food industry in Thai context: Issues, challenges, and sustainability. (Keynote Speaker). In EC-Asia Research Network on Integration of Global and Local Agri-Food Supply Chains Towards Sustainable Food Security hosted by Regional Centre for Manufacturing Systems Engineering (RCMSE) Chulalongkorn University, The Tawana Bangkok, Bangkok, Thailand. December 10, 2019.

7)      Roundtable on the Impact of Globalization on Agriculture and the Changing Role of Private Sector Forecasting. Australian Embassy, Bangkok. June 27, 2019.

8)      Social Cost of Air Pollution in Thailand and Solutions. Panel Discussion on the topic “Is “Dirty Air” the New Normal for Once Tourist-Friendly Thailand?”. The Foreign Correspondents’ Club of Thailand (FCCT). Bangkok. April 10, 2019.

9)      Air Pollution in Bangkok: Status, Causes & Economic Effects. PIER Economic Seminar. Bank of Thailand, Bangkok. February, 11 2019.

10)   Air Pollution in Bangkok: Status, Causes & Economic Effects. The European Union Consular Meeting. Delegation of the European Union, Bangkok. February 6, 2019.

11)   Global Rice Trade with Social Network Analysis. with Song Soo Lim (Korea University). Brown Bag Seminar. Department of Economics, Kasetsart University. Bangkok Thailand February 8, 2019

12)   Climate Change and Agriculture in Thailand. (Keynote Speaker). 10th RSEP International Multidisciplinary Conference. The Review of Socio-Economic Perspectives (RSEP), Thailand Jan 15-17, 2019.

13)   Effect of Zoning Policy in Agricultural Sector on Thai Social Welfare. The 4th KU-KUGSA Bilateral Symposium on “Food, Environment and Life for the Next Generation: Achieving the Sustainable Development Goals” Kyoto University, Kyoto, JapanDecember 5-7, 2018.

14)   Climate Change Impacts and Mitigation Potentials in Thailand’s Agriculture with Policy Update. International Symposium on Frontier of Science, Technology and Engineering 2018 (FOSTE 2018) Northern Science Park, Chiang Mai, Thailand. November 19-22, 2018.

15)   The Effect of Climate Change on Thailand’s Agriculture: New Results. 2018 Bruce McCarl Lecture   Series. Organized by Chung-Hua Institution for Economic Research (CIER), Taiwan, May 15-16, 2018.

16)   Thailand’s Climate Change Policy Update. Organized by Council of Agriculture and Chung-Hua Institution for Economic Research (CIER), Taiwan, May 17-18, 2018.

17)   Climate Change and Seed Industry. 2017. Pre-Congress Workshop in 2017 Asian Seed Congress organized by the Asia and Pacific Seed Association (APSA), Bangkok, November 13, 2017.

18)   Effects of Climate Change on Thailand’s Agriculture and Food Security. The 4th Consultative Meeting on Cooperative Research and Development towards Sustainable Development of Glutinous Rice-Based Economies in the Greater Mekong Subregion. organized by Kasetsart University Food Innovation Research and Services, Sakon Nakhon, Thailand. November 26-27, 2017.

19)   Thailand’s Food Security and Digitalization: The Growing Interaction and Development. World Food Day Colloquium 2017. Food and Digits. Euroforum, University of Hohenheim, Stuttgart, Germany, October 19, 2017.

20)   The Impacts of Global Climate Change on Thai Economy and Industries. Deloitte Economic Update 2/2017 and Headline Topic 1/2017, Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Co., Ltd., May 12, 2017.

21)   Attavanich, W. 2017. Impact of the First-Time Car Buyer Program on the Environmental Cost of Air Pollution in Bangkok. Kuala Lumpur Seminar Series hosted by the World Bank’s Development Research Group. Kuala Lumpur, Malaysia, April 20.

22)   Effects of Climate Change on Agriculture and Food Security. Departmental Seminar with Saga University, Japan September 26, 2016.

23)   Existing International Efforts in Data Collection, Impact Assessment, and Reduction of Food Loss and Waste in APEC Region. 2016 APEC Expert Consultation on Food Loss and Waste at Retail and Consumer Levels. Taipei, Taiwan, 18-19 July, 2016.

24)   Did the Thai rice-pledging program improve the economic performance and viability of rice farming? Mini-Conference on Development Economics at Puey Ungphakorn Institute for Economic Research, The Bank of Thailand, December 14, 2015.

25)   Effects of Climate Change on Global Rice Production. 2015 Global System Risk in Food, Energy and Finance, Hosted by Department of Food and Resource Economics Korea University, Seoul, Republic of Korea, October 29 – Nov 1, 2015.

26)   Natural Resource Use and Environmental Impacts Related to the Food System in Thailand. United Nation Environmental Programme (UNEP) & International Resource Panel – Working Group on Food Second Regional Workshop: “Natural Resource Use and Environmental Impacts of Food Systems in Southeast Asia” Jakarta, Indonesia, April 30 – May 1, 2014.

27)   Climate Change, Agriculture, and Transportation. Systemic Impacts of Climate on Transportation Workshop. Office of the Secretary of Transportation, US Department of Transportation. Arlington, VA, USA. October 11-12, 2012. (Panel Discussion).

28)   The Effect of Farmland Preservation on Farm Profitability: Does the Extent of Farm Participation Matter? Department of Agricultural, Food and Resource Economics, Rutgers, the State University of New Jersey, New Brunswick, NJ, USA. October 17, 2012.

29)   Transportation Alternatives to Inland Waterways for U.S. Agriculture. U.S. Army Corps of Engineers Water Resources Science, Engineering, and Planning, the National Academies, Washington D.C., USA. December 12, 2011. with S. Fuller.

ภาษาไทย

1.      Covidization & Agricultural Transformation. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเกษตรต่างประเทศ เชื่อมไทย เชื่อมโลก” จัดโดย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพมหานคร. 7 สิงหาคม 2563.

2.      COVID-19 Disruption ทางรอด ทางเลือก ในยุคความปกติแบบใหม่ โครงการฝึกอบรม หลักสูตร “เสริมศักยภาพผู้ผ่านการฝึกอบรมนักบริหารระดับสูง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดโดยสถาบันเกษตราธิการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 27 สิงหาคม 2563.

3.      COVID-19 กับความมั่นคงทางอาหาร: วิกฤติและโอกาสของสินค้าเกษตรไทย โครงการฝึกอบรมหลักสูตรนักบริหารการเศรษฐกิจการเกษตร ระดับกลาง รุ่นที่ ๑ โดยความร่วมมือระหว่าง สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 21 สิงหาคม 2563.

4.      ผลกระทบของภาคการเกษตรจาก สถานการณ์โควิด-19 และสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง : สู่แนวคิดการปรับเปลี่ยนการวิจัยด้านการเกษตร การประชุมวิชาการประจำปี 2563 สถาบันวิจัยพืชสวน โรงแรมเดอะ คาวาลิ คาซา รีสอร์ท จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1 กันยายน 2563.

5.      การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และผลกระทบในภาคเกษตรของประเทศไทย จัดโดย ธนาคารกรุงเทพ (จำกัด) มหาชน 5 สิงหาคม 2563.

6.      ผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อเศรษฐกิจและสังคมของไทย. การประชุมเพื่อพิจารณา “ความเสียหายทางเศรษฐกิจจากฝุ่น PM2.5” จัดโดย คณะกรรมาธิการการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาผู้แทนราษฎร ณ อาคารรัฐสภา. 19 กุมภาพันธ์ 2563.

7.      ผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อเศรษฐกิจและสังคมของไทย. งานเสวนาสาธารณะ “กู้วิกฤตการณ์ PM2.5 ด้วยงานวิจัยและนวัตกรรม” จัดโดย คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ราชบัณฑิตยสภาแห่งประเทศไทย และมหาวิทยาลัยขอนแก่น ณ อาคารจามจุรี 10 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 14 กุมภาพันธ์ 2563.

8.      ผลกระทบจากภัยแล้งและมาตรการจัดการบรรเทา : มุมมองเชิงเศรษฐศาสตร์. งานสัมมนาวิชาการ “ภาวะแล้ง 2020 และแนวทาง มาตรการ บริหารจัดการเพื่อป้องกันในอนาคต จัดโดย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงแรมแมนดาริน กรุงเทพฯ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2563

9.      ต้นทุนเชิงเศรษฐศาสตร์ของสังคมไทยจากมลพิษทางอากาศ. งานเสวนา “ฝุ่นพิษ PM2.5 กับความรัก” สมาคมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 11 กุมภาพันธ์ 2563

10.   ส่องพัฒนาการภาคเกษตรไทยด้วยฐานข้อมูลขนาดใหญ่. บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด 31 มกราคม 2563

11.   การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภาคเกษตรไทย : นัยต่อ ธ.ก.ส. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 12 กันยายน 2562

12.   ต้นทุนมลพิษทางอากาศของสังคมไทย : มุมมองเชิงเศรษฐศาสตร์ การประชุมวิชาการประเพณี ธรรมศาสตร์ – เกษตรศาสตร์ – มหิดล – กองทัพเรือ ครั้งที่ 21 6 กันยายน 2562

13.   การประเมินผลโครงการทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการความเสื่อมโทรมของที่ดิน ประจำปีงบประมาณ 2562 กรมพัฒนาที่ดิน 28-30 สิงหาคม 2562

14.   ภาคเกษตรไทยในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การประชุมวิชาการระดับชาติของนักเศรษฐศาสตร์ ครั้งที่ 13 “เศรษฐศาสตร์ไม่ตาย (Econ Never Dies)” จ.สงขลา 23 มิถุนายน 2562

15.   การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ นโยบายสาธารณะ และโครงสร้างภาคเกษตรไทย : ความรู้ใหม่ในภาคเกษตรไทย. มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI). 10 มิถุนายน 2562

16.   การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ … ผลต่อภาคเกษตรและการผลิตอาหารของประเทศไทย บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด 30 พฤษภาคม 2562

17.   เติมความรู้ ดูทิศทาง – โลกเปลี่ยน เราต้องปรับ : ความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศที่มีผลต่อชีวิตคนภูมิภาค การประชุมแผนการทำงานรายการสื่อพลเมือง 5 (ภูมิภาค 3.0) สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส 8 พฤษภาคม 2562

18.   ต้นทุนของสังคมไทยจากมลพิษทางอากาศและแนวทางรับมือ เสวนาเรื่อง “การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติและปฏิรูปประเทศด้านการจัดการมลพิษทางอากาศ PM 2.5 ทั้งระบบ” คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ คณะปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และราชบัณฑิตยสภา 26 เมษายน 2562

19.   ศาสตร์แห่งพระราชากับการแก้ปัญหาฝุ่นเชิงเศรษฐศาสตร์ ในงานเสวนา ศาสตร์แห่งพระราชา แก้ปัญหาฝุ่นอย่างยั่งยืน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 23 เมษายน 2562

20.   บูรณาการเศรษฐศาสตร์และวิทยาศาสตร์เพื่อการแก้ไขอย่างยั่งยืน. งานเสวนาเรื่อง “บทเรียนจากปัญหา PM2.5 ในประเทศไทยเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาในอนาคต”. อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 20 กุมภาพันธ์ 2562.

21.   ผลกระทบของฝุ่นพิษต่อเศรษฐกิจและสังคม. บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำกัด (มหาชน) 20 กุมภาพันธ์ 256

22.   ผลกระทบเชิงเศรษฐศาสตร์ของมลพิษทางอากาศและนโยบายอากาศสะอาดจากประสบการณ์ต่างประเทศ. เสวนา ฝุ่น PM 2.5 มีอะไร. ไทยพร้อมล้อมวง ครั้งที่ 3 อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย. 8 กุมภาพันธ์ 2562.

23.   ต้นทุนทางเศรษฐกิจและสังคมจากมลพิษทางอากาศ: ถอดบทเรียนเพื่ออนาคต. ไทยพร้อมล้อมวง ครั้งที่ 4: อากาศสะอาดเป็นของมนุษยชาติ. หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร. 24 กุมภาพันธ์ 2562

24.   การประเมินผลโครงการและนโยบายสาธารณะ การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง  การประเมินผลโครงการและนโยบายสาธารณะ จัดโดย กรมพัฒนาที่ดิน 18-19 ธันวาคม 2561

25.   การใช้ “Propensity Score Matching” (PSM) ในการประเมินผลโครงการ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 12-14 ธันวาคม 2561

26.   การประเมินผลโครงการและนโยบายสาธารณะโดยใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 8-9 พฤศจิกายน 2561

27.   นโยบายโซนนิ่งภาคเกษตร: ผลกระทบและแนวทางการบริหารจัดการ. การเสนอผลงานวิชาการด้านเศรษฐกิจ การเกษตร ประจำปี 2561. จัดโดย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ณ. โรงแรมรามา การ์เด้นส์ 24 สิงหาคม 2561

28.   ศักยภาพการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคเกษตรของประเทศไทย. การประชุมเชิงปฏิบัติการภายใต้โครงการศึกษาศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยในภาคเกษตร. จัดโดย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร และองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ). ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว. 13 มิถุนายน 2561.

29.   จุลทรรศน์เกษตรไทยผ่านทะเบียนเกษตรกรและสำมะโนเกษตร : โอกาสและความท้าทายของการใช้เทคโนโลยี งานสัมมนาขับเคลื่อนเกษตรไทยด้วยเทคโนโลยี ธนาคารแห่งประเทศไทย 23 เมษายน 2561

30.   การประเมินความคุ้มค่าของโครงการทางเศรษฐศาสตร์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 21 มีนาคม 2561

31.   ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อภาคเกษตรกรรมของไทย ในงานเสวนาวิชาการเรื่อง “เกษตรไทยพร้อมหรือยัง…ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” จัดโดย คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ณ อาคารรัฐสภา 2. 30 มกราคม 2561

32.   ภาวะโลกร้อน…จะบริหารข้อมูลกันอย่างไร จัดโดย คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 20 ธันวาคม 2560 ณ ห้องประชุมจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

33.   ผลกระทบ ความแปรปรวน และการปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. หลักสูตรการเสริมศักยภาพการดำเนินงานเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. จัดโดย กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. 21 พฤศจิกายน 2560.

34.   การพัฒนาเศรษฐกิจ การฝึกอบรมเตรียมความพร้อมโครงการ JENESYS 2017 หัวข้อ Composite 1st (Culture) Japan ASEAN Student กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 26 สิงหาคม 2560

35.   เครื่องมือและวิธีประเมินผลโครงการทางการเกษตรสมัยใหม่ การอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร นักเศรษฐกิจการเกษตรยุคใหม่ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร22 มิถุนายน 2560

36.   ไทยแลนด์ ๔.๐ และการปฏิรูปภาคการเกษตร. การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “เตรียมความพร้อมภาคเกษตรไทย ๔.๐” วันที่ ๑๘-๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม จัดโดย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

37.   เศรษฐมิติเบื้องต้นสำหรับการประเมินผล โครงการ “คู่มือเทคนิคทางเศรษฐมิติเบื้องต้นสำหรับการประเมินผล” สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรุงเทพฯ 26 พฤษภาคม 2560

38.   เทคนิคทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม: กรณีที่ไม่มีมูลค่าทางการตลาด. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 9 กุมภาพันธ์ 2560

39.   เทคนิคทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการประเมินค่าสิ่งแวดล้อม การสัมมนาเรื่อง “การประยุกต์ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์และการประเมินวัฏจักรชีวิตเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” จัดโดยศูนย์ความเป็นเลิศทางด้านการจัดการพลังงานและเศรษฐนิเวศ ม.เชียงใหม่ จังหวัดภูเก็ต 2-5 สิงหาคม 2559

40.   การติดตามและประเมินแผนโดยใช้สถิติ. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานเชิงยุทธศาสตร์” กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 8 มิถุนายน 2559

41.   เทคนิคทางสถิติเบื้องต้นสำหรับประเมินผล. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “คู่มือเทคนิคทางสถิติเบื้องต้น สำหรับประเมินผล” จัดโดย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร วันที่ 23-24 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องประชุมศรีปลั่ง ชั้น 8 อาคารสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

42.   การฝึกปฏิบัติการพยากรณ์ราคาสินค้าเกษตรและประมวลผลด้วยแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ หลักสูตรอบรม “การวิเคราะห์พยากรณ์ราคาสินค้าเกษตรอย่างมืออาชีพ” ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 3-4 มีนาคม 2559

43.   ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคการเกษตรและการปรับตัว. การประชุมเชิงปฏิบัติการและระดมความเห็นเรื่อง การขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน ภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น วันที่ 19-20 กันยายน 2559 ณ โรงแรมสามพราน ริเวอร์ไซด์ จังหวัดนครปฐม จัดโดย สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

44.   มาตรฐานวารสารวิชาการและกระบวนการศึกษาวิจัยเพื่อการจัดทำข้อเสนอแนะนโยบายภาครัฐ สำนักงานนโยบาย.  และยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์ จ. นนทบุรี 29 มิถุนายน 2558

45.   การประยุกต์ใช้เครื่องมือเศรษฐศาสตร์ในการวิเคราะห์และพยากรณ์อุปสงค์สินค้าเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โรงแรมทวาราวดี รีสอร์ท อำเภอศรีมหาโพธิ์ จังหวัดปราจีนบุรี 21-22 สิงหาคม 2558

46.   How to Publish in a Good Academic Journal? งานสัมมนา Brown Bag คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย-เกษตรศาสตร์ 13 กันยายน 13 2556

47.   เครื่องมือเศรษฐศาสตร์ในการวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐกิจการเกษตร สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรุงเทพฯ 2 ธันวาคม 2556

งานวิจารณ์หนังสือ

1)  Attavanich, W., B.A. McCarl and Y. Zhang. 2009. “Mitigating Climate Change through Food and Land Use.” Worldwatch Report 179Worldwatch Institute.

ผู้ประเมินบทความวิชาการของวารสารต่างๆ

American Journal of Agricultural Economics, Journal of Agricultural and Resource Economics, Food Policy, Agricultural Economics, Land Use Policy, Environment, Systems and Decisions, Energy Journal, Ecological Economics, Climatic Change, Global Environmental Change, Kasetsart Journal Social Science

โครงการวิจัยที่ทำในอดีตและที่กำลังทำในปัจจุบัน

1)      Attavanich, W. 2020. COVID-19 country assessment of impacts and response options on food systems, food security and nutrition, and livelihoods (national consultant). Funded by FAO Regional Office for Asia and the Pacific (FAORAP) with the support from Ministry of Agriculture and Cooperatives.

2)      Attavanich, W. 2020. Social Cost of Air Pollution from Particulate Matter 2.5 Micrometers (PM2.5) in Thailand. Funded by Department of Economics, Kasetsart University (Role: Principal Investigator)

3)      Attavanich. 2019. The Effect of Climate Change on Natural Rubber Production. Funded by Department of Economics, Kasetsart University (Role: Principal Investigator)

4)      Attavanich, W. 2019. Support the Development of Agriculture Climate Change Action Plan in Thailand. Thailand Development Research Institute (Role: Principal Investigator)

5)      Attavanich. 2018. Effect of Zoning Policy in Agricultural Sector on Thai Social Welfare. Funded by Department of Economics, Kasetsart University (Role: Principal Investigator)

6)      Attavanich. 2018. Drafting Report on the Performance of the United Nations Convention on the Prevention of Desertification Year 2018. Funded by Land Development Department, Ministry of Agriculture and Cooperatives (Role: Principal Investigator)

7)      Attavanich, W. 2017. Effects of Climate Change on Thailand’s Agriculture: New Results. Funded by Department of Economics, Kasetsart University (Role: Principal Investigator)

8)      Attavanich, W. & P. Pengthamkeerati. 2017. Support to the Development and Implementation of the Thai Climate Change Policy: Experts on GHG mitigation options in the Thai Agriculture sector. Funded by Deutsche Gesellschaft für Internationale Zusammenarbeit (GIZ) GmbH under supervision of ONEP & OAE (Role: Principal Investigator).

9)      Attavanich, W. & S. Udomvitid. 2017. Supporting Thailand to Integrate the Agricultural Sectors into National Adaptation Plans (NAPs) by Drafting the National Strategic Plan for Climate Change in Agriculture. Funded by FAO & UNDP under supervision of OAE. Project no. UNFA/GLO/616/UND (Role: Principal Investigator).

10)   Brown, M.E., J.M. Antle, P. Backlund, E.R. Carr, W.E. Easterling, M.K. Walsh, C. Ammann, W. Attavanich, C.B. Barrett, M.F. Bellemare, V. Dancheck, C. Funk, K. Grace, J.S.I. Ingram, H. Jiang, H. Maletta, T. Mata, A. Murray, M. Ngugi, D. Ojima, B. O’Neill, and C. Tebaldi. 2015. Climate Change, Global Food Security, and the U.S. Food System. 146 pages. Available online at http://www.usda.gov/oce/climate_change/FoodSecurity2015Assessment/FullAssessment.pdf.    DOI: 10.7930/J0862DC7 (นักวิจัย)

11)   Attavanich, W. 2014. Evaluating Impacts of Rice-Pledging Program on Economic Viability of Rice Farming in Thailand. Funded by Department of Economics, Kasetsart University (Role: Principal Investigator).

12)   Attavanich, W., S. Feng, and B.A. McCarl. 2010. “A Quantitative Model of Iraqi Agriculture.” Norman Borlaug Institute for International Agriculture. Texas A&M University. (นักวิจัย)

13)   วิษณุ อรรถวานิช. 2563. การประเมินผลกระทบของนโยบายสาธารณะที่หลากหลายต่อความเป็นอยู่ทางเศรษฐกิจของเกษตรกรไทย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (หัวหน้าโครงการ)

14)   วิษณุ อรรถวานิช. 2563. การวิเคราะห์ทางเลือกทางนโยบายในการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ในภาคขนส่งและยานยนต์ มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) (หัวหน้าโครงการ)

15)   สุภา หารหนองบัว วิษณุ อรรถวานิช และ ธนพล ไชยแสน. 2563. การพัฒนากลไกการผลักดันงานวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์ในภาคเกษตรไทย.สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (นักวิจัย)

16)   วิษณุ อรรถวานิช และคณะ. 2563. การจัดทำสมุดปกฟ้าอากาศสะอาด ประเทศไทย. ทุนส่วนตัวและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (บรรณาธิการและผู้เขียน)

17)   วิกานดา วราห์บัณฑูรวิทย์ และคณะ. 2563. การจัดทำบัญชีต้นทุนด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (SEEA) ร่วมกับบัญชีประชาชาติด้านการท่องเที่ยว (TSA) ในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)  (นักวิจัย)

18)   วิษณุ อรรถวานิช และชลัณดา สนธิ. 2563. การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำอัจฉริยะสำหรับภาคบริการในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (หัวหน้าโครงการย่อยด้านเศรษฐศาสตร์)

19)   วิษณุ อรรถวานิช. 2562. โครงการประเมินผลลัพธ์และผลกระทบของชุดโครงการอ้อยและน้ำตาล. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (นักวิจัย)

20)   วิษณุ อรรถวานิช ประพิณวดี ศิริศุภลักษณ์ โสมสกาว เพชรานนท์ อิสริยา บุญญะศิริ สมหมาย อุดมวิทิต อารียา โอบิเดียกวู และสุวพร ผาสุก 2562. โครงการศึกษาการสูญเสียอาหารในภาคการผลิตทางการเกษตรของประเทศไทย สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) (หัวหน้าโครงการ)

21)   วิษณุ อรรถวานิช. 2562. การประเมินผลลัพธ์และผลกระทบโครงการสานพลังประชารัฐเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดหลังฤดูทำนา. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (หัวหน้าโครงการ)

22)   ภัทรา เพ่งธรรมกีรติ และคณะ. 2562. ศักยภาพเป็นแหล่งบลูคาร์บอนของไทย : ป่าชายเลน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (นักวิจัย)

23)   วิกานดา วราห์บัณฑูรวิทย์ และคณะ. 2562. การศึกษาตัวชี้วัดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อมูลค่าเพิ่มเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของประเทศไทย. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (นักวิจัย)

24)   วิกานดา วราห์บัณฑูรวิทย์ และ วิษณุ อรรถวานิช. 2562. การจัดทำตัวชี้วัดผลิตภัณฑ์มวลรวมสีเขียว (Green GDP) ภาคอุตสาหกรรมประจำปีงบประมาณ 2561 ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (นักวิจัย)

25)   วิษณุ อรรถวานิช และคณะ. 2561. โครงการติดตามประเมินผลการดำเนินงานแผนบูรณาการการพัฒนาคนตามช่วงวัย ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๐. สำนักงานปลัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (หัวหน้าโครงการ)

26)   วิษณุ อรรถวานิช. 2561. โครงการการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาการค้าสินค้าเกษตรภายใต้โครงการพัฒนาเศรษฐกิจการค้าสินค้าเกษตร (Demand Driven) ประจำปีงบประมาณ 2561 สินค้าข้าวโพด. สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า. กระทรวงพาณิชย์ (หัวหน้าโครงการ)

27)   วิษณุ อรรถวานิช. 2561. โครงการศึกษาแนวทางการประเมินผลกระทบการใช้ประโยชน์จากเชื้อจุลินทรีย์ของศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (หัวหน้าโครงการ)

28)   จิตติ มังคละศิริ และคณะ. 2561. การประเมินผลลัพธ์ ผลกระทบเชิงสังคม โครงการประเมินผลกระทบทางสังคม (SROI): กรณีศึกษา “โครงการฐานข้อมูลวัฎจักรชีวิตและการประยุกต์ใช้” ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (ศว.) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญ)

29)   จารุวรรณ มหิทธิ และคณะ. 2561. การประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมของโปรแกรมการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ “โครงการศึกษาและพัฒนาแบบจาลองทางคณิตศาสตร์วิเคราะห์การไหลเวียนของกระแสนาในอ่าวไทย ร่วมกับการใช้นวัตกรรมไม้โกงกางเทียม เพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง ฟื้นฟูป่าชายเลน” ฝ่ายยุทธศาสตร์การวิจัย. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญ)

30)   รัตนาวรรณ มั่งคั่ง วิษณุ อรรถวานิช และ อิทธิพงศ์ มหาธนเศรษฐ์ 2560. การวิเคราะห์และบริหารจัดการความเสี่ยงด้านคาร์บอนฟุตพริ้นท์และฟุตพริ้นท์น้ำของสินค้าเกษตรและอาหารเพื่อเพิ่มมูลค่าและศักยภาพในการแข่งขันทางการตลาดรวมทั้งส่งเสริมการพัฒนาเข้าสู่เศรษฐกิจสีเขียว. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (นักวิจัย)

31)   วิษณุ อรรถวานิช และคณะ. 2560. โครงการจัดทำแผนแม่บทกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2561-2579. สำนักงานปลัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (หัวหน้าโครงการ)

32)   วิษณุ อรรถวานิช และคณะ. 2560. การศึกษาแบบจำลองอุปสงค์อุปทานอ้อยและมันสาปะหลัง โครงสร้างต้นทุน และมูลค่าเพิ่มโครงการการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการเกษตรเชิงพื้นที่บนฐานสมดุลเศรษฐศาสตร์ระยะที่ 2 สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (นักวิจัย)

33)   วิษณุ อรรถวานิช และคณะ. 2559. การศึกษาแบบจำลองอุปสงค์อุปทานข้าว โครงสร้างต้นทุนและมูลค่าเพิ่ม โครงการพัฒนาแบบจำลองเชิงพลวัตอุปสงค์ และอุปทานข้าว โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำรวจระยะไกล สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (นักวิจัย)

34)   วิษณุ อรรถวานิช 2559. ศักยภาพของชาวนาและเกษตรกรในการปรับตัวต่อปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะ มูลนิธิชีวิตไท ภายใต้การสนับสนุนของ สสส. (หัวหน้าโครงการ)

35)   วิษณุ อรรถวานิช และคณะ. 2558. การสำรวจด้านเศรษฐกิจและสังคมภายใต้โครงการแผนแม่บทเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่สีเขียวคุ้งบางกะเจ้าสู่ความยั่งยืน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (นักวิจัยและผู้ประสานงานหลักของคณะเศรษฐศาสตร์)

36)   รัตนาวรรณ มั่งคั่ง วิษณุ อรรถวานิช อิทธิพงศ์ มหาธนเศรษฐ์ สันติ แสงเลิศไสว และ อธิวัตร จิรจริยาเวช. 2558. การจัดทำบัญชีผลิตภัณฑ์มวลรวมสีเขียวในภาคเกษตรของประเทศไทย โดยใช้แนวคิดการประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ร่วมกับการใช้แบบจําลองปัจจัยการผลิตและผลผลิต เพื่อประเมินการพัฒนาสีเขียว. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (นักวิจัย)

37)   พรรรัตน์ เพชรภักดี และคณะ. 2558. โครงการศึกษาเพื่อจัดทำแผนแม่บทพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (ภายใต้ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ) สถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ภายใต้การสนับสนุนของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (นักวิจัย/ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจสังคม)

38)   พรรรัตน์ เพชรภักดี และคณะ. 2558. โครงการจัดทำแผนปฏิบัติการตามแผนพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมในพื้นที่ 15 จังหวัด (ภายใต้ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมอย่างมีศักยภาพเพื่อรองรับการลงทุน). สถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ภายใต้การสนับสนุนของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (นักวิจัย/ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจสังคม)

39)   วิษณุ อรรถวานิช. 2558. การประเมินผลกระทบของโครงการรับจำนำข้าวที่มีต่อสถานะทางเศรษฐกิจของเกษตรกรไทย” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการจัย (สกว.) สัญญาเลขที่ RDG5720017 (หัวหน้าโครงการ)

40)   วิษณุ อรรถวานิช. 2558. การประเมินผลกระทบของนโยบายรถคันแรกต่อต้นทุนทางสิ่งแวดล้อมจากมลพิษทางอากาศในกรุงเทพมหานคร. ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ งานวิจัยลำดับที่ 26/2558. (หัวหน้าโครงการ)

41)   วิษณุ อรรถวานิช และคณะ. 2558. โครงการจัดทำยุทธศาสตร์กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2560-2564. สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (หัวหน้าโครงการ)

42)   วิษณุ อรรถวานิช และคณะ. 2558. โครงการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล. สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (หัวหน้าโครงการ)

43)   สมหมาย อุดมวิทิต และ วิษณุ อรรถวานิช. กิจกรรมพัฒนาผู้ปฏิบัติงานและผู้ประสานงานคลัสเตอร์ (CDA) ปีงบประมาณ 2558. กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (นักวิจัย)

44)   เพ็ญพร เจนการกิจ กัมปนาท วิจิตรศรีกมล วิษณุ อรรถวานิช สันติ แสงเลิศไสว และ อิทธิพงศ์ มหาธนเศรษฐ์. 2557. โครงการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการระบบขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อบนบก. บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (นักวิจัย)

45)   วิษณุ อรรถวานิช อิทธิพงศ์ มหาธนเศรษฐ์ อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ กานต์ ยืนยง กฤษดา บำรุงวงศ์. 2556. การศึกษาแนวทางการสร้างมูลค่าจากการให้บริการของรถไฟไทย. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (หัวหน้าโครงการ)

46)   วิษณุ อรรถวานิช 2556. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีต่อมูลค่าที่ดินทางการเกษตรของประเทศไทย ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (หัวหน้าโครงการ)

47)   วิษณุ อรรถวานิช และคณะ 2550. ชุดโครงการวิจัยเรื่องประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการผลิตบัณฑิต กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โครงการย่อยที่ 6: คณะเศรษฐศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (หัวหน้าโครงการวิจัย)

48)   ชูชีพ พิพัฒน์ศิถี วิษณุ อรรถวานิช วัลล์ภัคร พลทรัพย์ และสันติยา เอกอัคร 2549. การประเมินผลโครงการฟื้นฟูผู้ประสบภัยจากคลื่นยักษ์สินามิ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (นักวิจัย)

49)   วลัยภรณ์ อัตตะนันทน์ วิษณุ อรรถวานิช สมหมาย อุดมวิฑิต และโสมสกาว เพชรานนท์ 2548. โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในเขตภาคกลางตอนบน สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (นักวิจัย)

ประสบการณ์งานสอน

1. ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2546-ปัจจุบัน)

ระดับปริญญาตรี: วิชาเศรษฐศาสตร์พลังงาน วิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค1 วิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค2

 วิชาเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิชาวิธีเชิงปริมาณสำหรับนักเศรษฐศาสตร์

ระดับปริญญาโท: วิชาเศรษฐศาสตร์การจัดการขั้นสูง วิชาเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมขั้นสูง

ระดับปริญญาเอก: วิชาระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงด้านเศรษฐศาสตร์: เรื่อง เศรษฐมิติว่าด้วยการประเมินโครงการและนโยบาย   วิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค 3 วิชาสัมมนา

2. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Invited Lecturer, Effects of Climate Change on Thailand’s Agriculture and Food Security. Lecture in Development Microeconomics class, the Bachelor of Economics, International Program, Thammasat University, May 3, 2017.

Invited Lecturer, Evaluating the Impact of the Rice–Pledging Program on Economic Well-Being of Farm Households in Thailand. Seminar in Development Economics hosted by the Bachelor of Economics, International Program, Thammasat University, Feb 29, 2016.

3. Department of Agricultural Economics, Texas A&M University, USA.

Regular Lecturer, Agribusiness Analysis and Forecasting: Mathematical Programming Section with Dr. James W. Richardson (Graduate Level: Spring 2010 and 2011): Course subject matter covered linear programming, mixed integer programming, and supply chain management

Invited Lecturer, Homeland Security – Economic Issues and Implications for Policy Design presenting a case study on analyzing 2009 H1N1 flu impacts (Graduate Level: Fall 2010)

4. Division of Natural Resource Economics, Graduate School of Agriculture, Kyoto University, Japan.

Regular Lecturer, Special Lecture on Natural Resources Economics VB (Graduate Level: Fall 2020): The course emphasizes on the Linkage among Climate Change, Food Security and Policies in Agriculture

ทุนการศึกษาและรางวัล

ระดับนานาชาติ

1)   รางวัล 2016 Abraham Lincoln Honor Award for Increasing Global Food Security จากการมีส่วนร่วมในผลงานวิจัยเรื่อง  “Climate Change, Global Food Security, and the U.S. Food System” มอบโดย กระทรวงเกษตรของประเทศสหรัฐอเมริกา, 2559

ระดับชาติ

1)      รางวัล ป๋วย อึ๊งภากรณ์ สำหรับนักเศรษฐศาสตร์รุ่นใหม่ที่มีผลงานดีเด่น ประจำปี 2562 จากสถาบันป๋วย อึ๊งภากรณ์ มูลนิธิ 50 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย และสถาบันวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ทั้ง 7 สถาบัน (คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง ธนาคารแห่งประเทศไทย และมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย)

2)      รางวัลบุคลากรดีเด่นด้านบริการวิชาการ สาขาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2562, 2563

3)      รางวัลบุคลากรดีเด่นด้านงานวิจัยและนวัตกรรม สาขาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2560, 2560

4)      รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ประจำปี 2560 สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนวัดราชบพิธ, 2561.

5)      รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ประจำปี 2559 ประเภทนักวิชาการดาวรุ่ง สมาคมเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2560.

6)      รางวัลบุคลากรที่มีผลงานวิชาการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีคะแนน Impact Factor สูงอันดับ 2 ประจำปี 2560

7)      รางวัลบุคลากรที่สร้างชื่อสร้างให้แก่คณะ ด้านการวิจัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2558, 2559

8)    รางวัลประเภทบุคคล – นักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2556, 2557, 2558

9)    รางวัลประเภททีม – รางวัลผลงานวิจัยที่สร้างผลกระทบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระดับ SILVER จากผลงานวิจัยเรื่อง การประเมินวัฎจักรชีวิตนำอุตสาหกรรมอาหารไทยสู่การค้าและการพัฒนาอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2558

10)  รางวัลบุคลากรดีเด่นด้านงานวิจัยและนวัตกรรม สาขาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2557

11)  รางวัลประเภทบุคคล – นักวิจัยรุ่นเยาว์ผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ จำนวนและคุณภาพสูงสุด

(KU Research Star) สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2556

12) ทุนรัฐบาลไทยระดับปริญญาเอก ทุนการศึกษาขั้นสูงเชิงกลยุทธ์เพื่อการสร้างเครือข่ายวิจัยระดับแนวหน้า สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2550–2554

13)  AAEA Travel Grant from the Agricultural and Applied Economics Association (AAEA), 2011

14)  Graduate Student Research and Presentation Grant funded by the Association of Former Students and the Office of Graduate Studies, Texas A&M University, 2011

15)  Graduate Student Travel Scholarship from the Western Agricultural, Economics Association (WAEA), 2010

16)  Graduate Student Travel Scholarship from the Department of Agricultural, Economics, Texas A&M University, 2010

17)  ทุนการศึกษาในระดับปริญญาโทจากธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) 2545–2546

18)  รางวัลนิสิตที่มีผลการเรียนดีเยี่ยม ประจำปีการศึกษา 2541 2542 และ 2543 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

19)  รางวัลนิสิตผู้ช่วยเหลือกิจกรรมนิสิตของคณะและมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2543

20)  รางวัลชนะเลิศการแข่งขันตอบปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ระดับอุดมศึกษา สมาคมเศรษฐศาสตร์แห่งประเทศไทย 2542

21) รางวัลนิสิตผู้ช่วยสร้างชื่อเสียงให้กับคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2542

กิจกรรมเพื่อการพัฒนาวิชาชีพ

1)      International Organizing Committee, 2016 East, Southeast, and South Asia, Taiwan-Korea-Japan Agricultural Economics Conference, 2016

2)      เครือข่ายนักวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์ สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ธนาคารแห่งประเทศไทย (2559 – ปัจจุบัน)

3)      Agricultural and Applied Economics Association, Member, 2009–present

4)      Association of Environmental and Resource Economists, Member, 2011–present

5)      Northeastern Agricultural and Resource Economics Association, Member, 2012–2013

6)      Western Agricultural Economics Association, Member, 2010–2011

7)      Western Economics Association International, Member, 2010–2012

8)      Volunteer moderator in the AAEA selected paper session “Climate, Weather, and Demand” at the 2011 AAEA & NAREA Joint Annual Meeting, Pittsburgh, PA, USA. July 24–26

9)      Volunteer moderator in the session “How Graduate School Prepared Me for a Career in Industry” at the 2010 AAEA, CAES, & WAEA Joint Annual Meeting in Denver, CO, USA. July 25–27

10)   SAS Short Course, Texas A&M University, USA. 2010

11)   Advanced GAMS course with B.A. McCarl, GAMS Corporation, 2009

12)   Diploma in English, University of North Texas, USA, Intensive English Language Institute, 2007

ภาวะผู้นำ

1)      ประธานสมาคมนักเรียนไทย ณ Texas A&M University, USA 2552–2553

2)      รองประธานรุ่นของพนักงานมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รุ่นที่ 4

3)      รองประธานรุ่นของศิษย์เก่า (EC 40) ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  

วิทยานิพนธ์/งานศึกษาค้นคว้าอิสระที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก

1)      นาฏไพลิน  วิชัยดิษฐ  2557: การเคลื่อนไหวเชิงพลวัตรของราคาทองคำ ราคาน้ำมัน และอัตราแลกเปลี่ยนในตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแห่งประเทศไทย ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

2)      ปรานี ไทยเที่ยง 2557 การศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจการปลูกหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 เพื่อเป็นพืชอาหารสัตว์ ในเขตอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา. ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

3)      นวลจิรา  รักญาติ. 2557. การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานลม ในจังหวัดภูเก็ต. ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

4)      เฉลิมชัย  จี้ต๊ะนันท์. 2559. การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหาท่อส่งก๊าซธรรมชาติทรุดตัวจากสาเหตุดินทรุดตัวโดยใช้วัสดุ Expanded Polystyrene Foam (EPS): กรณีศึกษา สถานีส่งก๊าซธรรมชาติกิ่งแก้ว 2. ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

5)      นิชาภา พรรณเดช 2559: ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อศักยภาพการทำกำไรของอุตสาหกรรมเหล็กในประเทศไทย ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

6)      ชุติมา ลิมปกาญจน์เวช. 2560. ความคุ้มค่าในการลงทุนติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา: กรณีศึกษา บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) สาขานครอินทร์. ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

7)      อุสนีย์  ติยะวรากุล. 2561. การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนโรงไฟฟ้าพลังงานขยะมูลฝอยชุมชนในจังหวัดนนทบุรี. ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

8)      สุพัตรา สุนทรกรันต์. 2562. การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการติดตั้งระบบกักเก็บพลังงานของการไฟฟ้านครหลวง. ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

9)      เก็จชญา ปันดา. 2562. ปัจจัยที่มีผลต่อมูลค่าหนี้ของลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.). ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

10)   พัณณาภรณ์ สบู่หอม 2562. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์และอุปทานผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังนำเข้าของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนจากประเทศไทย. ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ